สอบถามการใช้งานระบบ?
(02)913 - 7555 กด 4
ฝ่ายบริการสมาชิกเว็บไซต์
สมัครสมาชิก เข้าสู่ระบบสมาชิก

Login with your site account

Lost your password?

Not a member yet? Register now

www.rlg-ef.comwww.rlg-ef.com
  • Home
  • About Us
    • Contact Us
  • About EF
    • ALL ABOUT EF
    • EF FOR PARENT
    • EF FOR TEACHER
    • EF งานวิจัย
  • VDO EF
  • EF SHOP
    • ซื้อสินค้า
    • แจ้งชำระเงิน
  • EF FAQ
  • Download
    • เอกสาร และสื่อ
    • INFOGRAPHIC
    • E Book
  • Pre & Post Test
    • แบบทดสอบความรู้ความเข้าใจเรื่องสมองกับการเรียนรู้ (หลังการอบรม)
    • แบบประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเอง (หลังการอบรม) เรื่องการจัดประสบการณ์เรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF
    • แบบประเมินการสอนสาระวิชาสมองกับการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
      • Cart

        1
    • Home
    • About Us
      • Contact Us
    • About EF
      • ALL ABOUT EF
      • EF FOR PARENT
      • EF FOR TEACHER
      • EF งานวิจัย
    • VDO EF
    • EF SHOP
      • ซื้อสินค้า
      • แจ้งชำระเงิน
    • EF FAQ
    • Download
      • เอกสาร และสื่อ
      • INFOGRAPHIC
      • E Book
    • Pre & Post Test
      • แบบทดสอบความรู้ความเข้าใจเรื่องสมองกับการเรียนรู้ (หลังการอบรม)
      • แบบประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเอง (หลังการอบรม) เรื่องการจัดประสบการณ์เรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF
      • แบบประเมินการสอนสาระวิชาสมองกับการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย

    ALL ABOUT EF

    • Home
    • Blog
    • ALL ABOUT EF
    • ทักษะสมอง EF คือ พื้นฐานของ “ทักษะในศตวรรษที่ 21” (21st Century Skills)

    ทักษะสมอง EF คือ พื้นฐานของ “ทักษะในศตวรรษที่ 21” (21st Century Skills)

    • Posted by RLG-EF Admin
    • Categories ALL ABOUT EF
    • Date 23/01/2018

    คนรุ่นใหม่จะอยู่รอดและประสบความสำเร็จได้ ต้องมี ”ทักษะในศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills)  แต่เด็กๆ ของเราจะพัฒนาทักษะชุดนี้ขึ้นมาในตัวได้ ต้องมีทักษะสมอง EF ที่แข็งแรงเป็นพื้นฐาน

    คนรุ่นใหม่ที่จะอยู่รอดและประสบความสำเร็จในยุคนี้จะต้องมีทักษะและความรู้สำคัญที่เรียกว่า “ทักษะในศตวรรษที่ 21” (21st Century Skills) อันประกอบไปด้วยทักษะพื้นฐาน 3Rs ทักษะในการเรียนรู้และสร้างนวัตกรรม 4Cs ทักษะด้านสารสนเทศ ทักษะชีวิตและทักษะทำงาน

    การสร้างทักษะดังกล่าวให้แข็งแรงได้จะต้องมีกระบวนวิธีพัฒนาที่ดีมาตั้งแต่ต้นและตลอดช่วงอายุ 0-6 ปี เด็กต้องฝึกตั้งแต่เล็กอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นทักษะ

    การท่องจำ จดแล้วสอบ แบบที่ว่า “จดแล้วท่อง ท่องแล้วจำ จำแล้วสอบ สอบแล้วลืม” ไม่สามารถสร้างทักษะในศตวรรษที่ 21 ให้แข็งแรงได้ การฝึกฝนทักษะสมอง EF เช่น การฝึกความยั้งคิด ไตร่ตรอง การฝึกความอดทนอดกลั้น การฝึกความมุ่งมั่นพากเพียร หรือควบคุมอารมณ์ ล้วนเป็นพื้นฐานเพื่อการสร้างทักษะในศตวรรษที่ 21 ทั้งสิ้น
    ทักษะในศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) ประกอบไปด้วย
    ทักษะพื้นฐาน 3Rs ได้แก่ การอ่านออก (Reading) เขียนได้ (Writing) คิดเลขเป็น (Arithmetic)
    ทักษะในการเรียนรู้และสร้างนวัตกรรม 4Cs ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking Skill) เข้าใจความซับซ้อนอย่างเป็นระบบ หาทางแก้ไขได้การสื่อสาร (Communication Skill) สามารถสร้างการสื่อสารและสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น การร่วมมือ (Collaboration Skill) รู้จักเอื้อเฟื้อ รู้นำ-รู้ตามเคารพคนอื่น การคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creativity skill) ต้องอาศัยความคิดใหม่ๆ หรือการคิดนอกกรอบ
    ทักษะด้านสารสนเทศ (Information Skill) สามารถแยกแยะและเข้าถึงข้อมูล ประมวลผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อ (Media Skill) รู้เท่าทันสื่อ แยกแยะและใช้ประโยชน์ และสื่อสารของตนเองออกไปได้ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Technology Skill) สามารถใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ได้อย่างชำนาญและเหมาะสม

    ทักษะชีวิตและทักษะทำงาน มีความยืดหยุ่นและปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ รู้จักพลิกแพลง หาทางใหม่ไม่ยึดวิธีเดิมๆ ริเริ่มลงมือและการกำกับทิศทางตนเอง เมื่อคิดแล้วต้องกล้าริเริ่ม ลงมือทำเลยแม้จะไม่เคยทำมาก่อน  มีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและข้ามวัฒนธรรม สามารถเปิดใจกว้าง ยอมรับและอดทนกับความแตกต่างได้ สร้างผลิตภาพและตรวจสอบได้ ทำงานมีประสิทธิภาพโปร่งใส มีภาวะผู้นำและความรับผิดชอบกล้านำกล้าตาม

    การจะสร้างทักษะในศตวรรษที่ 21 ให้แข็งแรงได้ เด็กต้องฝึกอย่างต่อเนื่อง เช่น จะมีทักษะ “ร่วมมือ” กับผู้อื่นได้ดี ต้องเคยทำกิจกรรมกับผู้อื่น มีประสบการณ์ร่วมกัน เช่น แก้ปัญหา ทะเลาะขัดแย้งและคืนดีกันได้ ถ้าเด็กๆ ได้รับโอกาสเรียนรู้ทักษะ EF รอบด้านตั้งแต่เด็ก จะมี “ทักษะเพื่อศตวรรษที่ 21” แน่นอน

    Reference : P21, the Partnership for 21st Century Learning,www.p21.org

    “จดแล้วท่อง ท่องแล้วจำ จำแล้วสอบ สอบแล้วลืม” ไม่ช่วยให้เด็กคิดเป็น ทำเป็น

    Facebook
    Twitter
    Line

    Tag:ทักษะสมอง EF, พัฒนาสมอง, ลูกนิสัยดี, ลูกประสบความสำเร็จ, ลูกสมองดี, เลี้ยงลูกให้อยู่รอด

    RLG-EF Admin
    RLG-EF Admin

    Previous post

    ทำไมต้อง Executive Functions (EF)
    23/01/2018

    Next post

    เลี้ยงลูกให้ "ประสบความสำเร็จ"
    23/01/2018

    You may also like

    • messageImage_1565673234440
      สารคดีสั้นและวิดีโอคลิปชุด พลังชุมชนปฏิรูปการศึกษา ด้วยการพัฒนาทักษะสมอง EF
      16 พฤศจิกายน, 2019
    • IMG_20180113205357_524499694_huge
      IQ vs. EF
      24 มกราคม, 2018
    • Girl drawing color pencils in kindergarten classroom, preschool
      เลี้ยงลูกให้ “ประสบความสำเร็จ”
      23 มกราคม, 2018

    Search

    EF COURSE

    พัฒนาทักษะสมอง EF ด้วยวินัยเชิงบวก

    พัฒนาทักษะสมอง EF ด้วยวินัยเชิงบวก

    Free
    พัฒนาทักษะสมอง EF ต่อยอดบนพัฒนาการ 4 ด้าน

    พัฒนาทักษะสมอง EF ต่อยอดบนพัฒนาการ 4 ด้าน

    Free
    พัฒนาทักษะสมอง EF ด้วย Music and Movement

    พัฒนาทักษะสมอง EF ด้วย Music and Movement

    Free

    EF SHOP

    • “เติบโตตามรอยพ่อ” แนวทางการอภิบาลของสมเด็จย่า ในศตวรรษที่ 20 ที่ตอบโจทย์โลกศตวรรษที่ 21 ฿280.00 หยิบใส่ตะกร้า
    • เลี้ยงลูกให้สมองดี ด้วย EF
      เลี้ยงลูกให้สมองดี ด้วย EF ฿240.00 หยิบใส่ตะกร้า
    • เรียนไม่เก่งแล้วงัย
      เรียนไม่เก่งแล้วงัย ฿220.00 หยิบใส่ตะกร้า
    logo-eduma-the-best-lms-wordpress-theme

    (02) 913 7555 กด 4

    ฝ่ายบริการสมาชิกเว็บไซต์

    Company

    • About Us
    • Contact
    • Become a FA

    Links

    • ความเคลื่นไหวกิจกรรม
    • ศูนย์การเรียนรู้ EF
    • EF Infographic
    • ถาม-ตอบ ยอดฮิต

    Support

    • เอกสารคู่มือ
    • ระบบฐานข้อมูลสมาชิก EF
    • การใช้งานของสมาชิก

    Recommend

    • รักลูกกรุ๊ป
    • อสมท.
    • สสส.
    • มหาวิทยาลัยมหิดล
    • สมาคมอนุบาลศึกษา
    • สำนักงาน ป.ป.ส.

    Copyright © 2015 RLG Institute, All rights reserved.

    • Privacy
    • Terms
    • Sitemap
    ร่วมเป็นหนึ่งใน FA เพื่อขับเคลื่อน EF

    Join thousand of FA!

    คลิกเพื่อร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับเรา