Page 82 - Executive Functions ในเด็กวัย 13-18 ปี
P. 82

กำรเรียนรู้แบบ Problem - Based Learning ส่งเสริม                                                      ในหลำยประเทศได้มีกำรน�ำควำมรู้เรื่องพัฒนำกำรตำมวัยและทักษะสมอง EF

                                  EF ในวัยรุ่น                                                                                      ไปใช้ในยุทธศำสตร์กำรพัฒนำคนในประเทศอย่ำงจริงจัง เช่น กำรจัดกำรศึกษำ

                                                                                                                                    ในประเทศฟินแลนด์ที่ยืดหยุ่นให้โอกำสเด็กหลำยครั้งในกำรตัดสินใจ วำงแผน
                                    ถัดขึ้นไปในกำรเรียนชั้นประถม หำกโรงเรียนใดมี problem - based learning มี                        และเปลี่ยนเป้ำหมำยในเรื่องอำชีพ ร่วมมือกันในสังคมเปิดโอกำสให้เด็กได้มีโอกำส
                                  โจทย์ให้เด็กแก้ปัญหำได้ลงมือท�ำ ขณะลงมือท�ำเด็กต้องใช้ควำมคิด ท�ำกำรส�ำรวจค้นคว้ำ                 ไปคลุกคลี ฝึกงำนในอำชีพที่ตนสนใจอย่ำงหลำกหลำยและยืดหยุ่นตั้งแต่มัธยมต้น

                                  มีกำรท�ำงำนเป็นทีม มีอำรมณ์เกิดขึ้นผสมปนเป ต้องคอยก�ำกับควบคุมทุกอย่ำงที่                         หรือในทฤษฎี “สร้ำงคนสร้ำงชำติ” ของประเทศญี่ปุ่นที่ถือว่ำ
                                  ซับซ้อนและยำกกว่ำเพื่อไปให้ถึงเป้ำหมำย ท�ำให้เด็กมีทักษะจัดกำรชะลอควำมต้องกำร
                                  หรือควำมอยำก อดทน ไม่เลือกเอำควำมสุขเฉพำะหน้ำ แต่รู้จักอดเปรี้ยวไว้กินหวำน                            ครอบครัวคือรำกฐำนของชีวิตเด็ก

                                                                                                                                        ช่วงปฐมวัยคือช่วงกำรเพำะต้นกล้ำแห่งชีวิต
                                                                                                                                        ช่วงมัธยมต้นคือช่วงกำรค้นหำตนเอง
                                                                                                                                        ช่วงมัธยมปลำยคือช่วงกำรเรียนรู้สู่อนำคต
                                                                            1. สถานการณ์                                                และช่วงมหำวิทยำลัยคือช่วงของกำรพร้อมเป็นผู้ใหญ่
                             สถานการณ์                                   ที่ต้องการการวางแผน

                          ที่บริหารทักษะสมอง                                อย่างซับซ้อน                                                ในหลักสูตรกำรเรียนกำรสอนของประเทศญี่ปุ่นจึงมีกำรฝึกทักษะให้เด็กลงมือท�ำ
                           EF ได้ดีเมื่อเด็ก                             (complex planning)                                         ฝึกปฏิบัติท�ำงำนที่ต้องรับผิดชอบตำมวัย และกำรอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นอย่ำงจริงจัง
                             เข้าสู่วัยรุ่นคือ                                                                                      มำกกว่ำกำรเรียนท่องต�ำรำอย่ำงเดียว





                                                                     2. สถานการณ์นั้น
                                                                     ต้องมีความท้าทาย
                                                                  (challenge situation)
                                                                                                                                        กำรจะท�ำให้ทักษะสมอง EF แข็งแรงต้องเอำพัฒนำกำรของสมอง
                                                                                                                                        เป็นตัวตั้ง โดยเด็กควรได้พบประสบกำรณ์ที่หลำกหลำยก่อนช่วง

                                                                                                                                        อำยุ 13-14 ปี ที่สมองเกิดกระบวนกำร pruning หรือกำรตัดแต่งกิ่ง
                                                                                                                                        สมองส่วนที่ไม่ใช้ออกไป อยำกให้เด็กวัยรุ่นเป็นเช่นไร เรำต้องสร้ำง
                                        ตั้งแต่กำรตั้งเป้ำหมำยในแต่ละวัน ฝึกฝนทักษะกำรวำงแผน ลงมือท�ำตำมแผน                             ประสบกำรณ์เช่นนั้นให้กับเขำ
                                    จนส�ำเร็จและยอมรับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ทักษะสมอง EF พื้นฐำนก็จะได้รับโอกำสใน
                                    กำรฝึกฝนทุกวัน ตั้งแต่กำรจดจ�ำเพื่อใช้งำน ควำมยืดหยุ่นต่อสถำนกำรณ์ที่
                                    เปลี่ยนแปลงไป ควำมหลำกหลำยของคนที่แวดล้อม กำรยับยั้งชั่งใจต่อสิ่งเร้ำ เพื่อ

                                    เติบโตขึ้นไปเป็นผู้ใหญ่ที่เป็นตัวของตัวเอง สำมำรถจัดกำรชีวิตตนเอง รับผิดชอบ
                                    ต่อกำรงำนอำชีพและครอบครัวที่ตนจะสร้ำงขึ้นต่อไปในอนำคต





            82                                                                                                                                                                                                                    83
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87