Page 107 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 107

Tool: Positive Discipline
 Techniques    2. เป้าหมายของเทคนิควินัยเชิงบวก



                 “ห้องเรียนวินัยเชิงบวก” เป็นห้องเรียนที่ตระหนักเสมอว่าการที่เด็กคนหนึ่งจะเติบโต
               ขึ้นมาเป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุขเป็นนั้น จะต้องเติบโตขึ้นมาพร้อมกับการได้รับ
               การส่งเสริมแบบองค์รวม (The Whole-Brain Child)












 Mind, Brain, and Education Science




   เมื่อนักการศึกษาน�าความรู้ความเข้าใจตามแนวคิด Neuroeducation มาประยุกต์
 และท�าการวิจัยเพื่อหาแนวปฏิบัติส�าหรับครูเพื่อน�าไปสอนในห้องเรียน จึงเกิดเป็น
 แนวทางที่ใช้ในการสื่อสารกับนักเรียนเรียกว่า“เทคนิควินัยเชิงบวก” (Positive Discipline

 Techniques) ซึ่งเป็นเทคนิคการสื่อสารที่ช่วยสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู
 กับนักเรียน ช่วยให้ครูมีทักษะในการสร้างให้นักเรียนรู้สึกถึงความเป็นส่วนหนึ่งของ
 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ในขณะเดียวกันก็ยังสร้างทักษะที่จ�าเป็นเพื่อการเตรียมตัวให้มี
 ความพร้อมส�าหรับการใช้ชีวิตที่ประสบความส�าเร็จ ด้วยการตอบสนองพัฒนาการ

 ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และฝึกฝนส่งเสริมพัฒนาการไปด้วย เพื่อช่วยให้นักเรียน
 ได้เตรียมตัวทั้งทางด้านสมองและเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไปพร้อมๆ กัน
   เทคนิควินัยเชิงบวกพัฒนาขึ้นมาจากความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการทางธรรมชาติ
 ทุกด้านของมนุษย์ และเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง เนื่องจากมีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์

 ที่สามารถอธิบายได้ถึงความสอดคล้องของการใช้เทคนิคการสื่อสารเพื่อการสร้างเสริม    นั่นคือ พัฒนาทางจิตใจ ร่างกาย สมอง และพฤติกรรมไปพร้อมๆ กันอย่างต่อเนื่อง
 การมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กร่วมกันกับการท�างานของสมอง ด้วยการให้ดูว่าสมองท�างาน  และเหมาะสมในแต่ละช่วงวัยจนเกิดเป็นทักษะต่างๆ (เช่น ทักษะอารมณ์ ทักษะสังคม
 อย่างไรเวลาที่เด็กเรียนรู้โดยมีครูและผู้ปกครองใช้เทคนิควินัยเชิงบวกเป็นเครื่องมือ   ทักษะแก้ไขปัญหา เป็นต้น) เพื่อการด�ารงชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าในตนเองและสังคม
 ในการสื่อสารขณะมีปฏิสัมพันธ์ ดังนั้นเทคนิควินัยเชิงบวกจึงไม่ได้ถูกจ�ากัดให้ใช้ได้  ดังนั้น นอกเหนือไปจากเนื้อหาของวิชาการที่จะต้องสอนแล้ว ครูที่ใช้เทคนิควินัย

 เฉพาะภายในห้องเรียน แต่ผู้ปกครองสามารถน�ามาใช้ในการเลี้ยงดูบุตรหลานได้อย่าง  เชิงบวกจะนึกถึงพัฒนาการแบบองค์รวมที่จะต้องบูรณาการไปในการสื่อสารระหว่าง
 มีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุดกับตัวเด็กที่จะได้เติบโตขึ้นมาท่ามกลางผู้เลี้ยงดู   ที่มีปฏิสัมพันธ์กับเด็ก โดยสิ่งที่ก�าลังจะสื่อสารนั้นควรมีเป้าหมายหลักดังนี้
 ที่มีความรู้ความเข้าใจในการเติบโตอย่างเหมาะสมและเต็มศักยภาพมนุษย์อีกด้วย




 106                                                                                                         107
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112