Page 104 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 104

เด็กในช่วงวัยประถมศึกษา คือเด็กที่อยู่ในช่วง “หน้าต่างแห่งโอกาสในการ                          เพื่อหาวิธีการสอนที่สามารถปลูกฝังและสร้างสรรค์เด็กคนหนึ่งให้เติบโตขึ้นมาอย่าง
                                     พัฒนาสมอง ให้คิดได้ดีขึ้น เร็วขึ้น และฉลาดขึ้น” เนื่องจากเป็นช่วงเวลาที่ทักษะ                 เต็มศักยภาพและเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพในสังคม นักวิชาการจึงได้ท�าการศึกษา
                                     สมอง EF จะเติบโตเร็วมาก ซึ่งถ้าได้รับประสบการณ์ที่เหมาะสม ทักษะสมอง EF ก็จะ                   ค้นหาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพ ทักษะ และกระบวนการคิดของเด็กในช่วง
                                     มีประสิทธิภาพมากขึ้นและพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงขึ้น เช่นตรรกะและความเป็นเหตุ                   วัยต่างๆ แล้วประยุกต์ออกมาเป็นเทคนิคการสื่อสารเพื่อใช้ในขณะที่มีปฏิสัมพันธ์

                                     เป็นผล ซึ่งเป็นทักษะที่ต้องใช้ส�าหรับการอ่าน การเขียน และคณิตศาสตร์ ในทาง                     กับเด็กๆ เรียกว่า “เทคนิควินัยเชิงบวก” (Positive Discipline Techniques)
                                     ตรงกันข้าม หากเด็กในวัยนี้ไม่ได้ฝึกฝนและไม่ได้ถูกท้าทายกระบวนการคิดของตนเอง                   และหลีกเลี่ยงปัจจัยเชิงลบใดๆ ที่ส่งผลลบต่อพัฒนาการและศักยภาพในการพัฒนา
                                     หรือได้รับสารพิษที่ท�าลายเซลล์ประสาท (neurotoxins) เช่น แอลกอฮอล์ บุหรี่ และ                  ของมนุษย์
                                     ยาเสพติด ก็จะพลาดโอกาสและมีช่องโหว่ในการพัฒนาทักษะสมอง EF ซึ่งเป็น                              ในบทนี้จึงจะน�าเสนอในเรื่องของเทคนิควินัยเชิงบวก เริ่มจากแนวคิด เป้าหมาย

                                     ฐานส�าคัญในกระบวนการคิด การควบคุมแรงขับ การแก้ไขปัญหา การก�าหนดเป้าหมาย                       ความหมาย และหลักการท�างานของเทคนิควินัยเชิงบวก เพื่อให้เข้าใจที่มาและ
                                     การจัดการ และการตัดสินใจที่ดีเมื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่                                           กระบวนการท�างานของการสร้างวินัยเชิงบวกที่มีผลต่อพัฒนาการทางสมอง จิตใจ
                                       ในช่วงวัยนี้ ทักษะสมอง EF ในกลุ่มก�ากับตนเองและกลุ่มปฏิบัติจะเจริญเติบโต                    และพฤติกรรมของเด็กวัยประถม โดยมีตัวอย่างของการใช้เทคนิควินัยเชิงบวก
                                     อย่างมาก (growth spurt) เมื่ออายุประมาณ 9 ถึง 10 ปี และจะเริ่มผ่านขั้นตอนการ                  ในสถานการณ์ต่างๆ และข้อเสนอแนะส�าคัญที่ควรได้รับความสนใจ

                                     ตัดแต่งกิ่ง (pruning-use it or loose it) เมื่ออายุประมาณ 11 ปีและต่อเนื่องไปถึง
                                     ช่วงวัยผู้ใหญ่ตอนต้น โดยหลักส�าคัญของกระบวนการดังกล่าวคือการเชื่อมต่อของสมอง                  1. กรอบแนวคิดเทคนิควินัยเชิงบวก (Conceptual Frameworks)
                                     ที่ถูกกระตุ้นและใช้ซ�้าๆ จะแข็งแรงมากขึ้นในขณะที่การเชื่อมต่อที่ไม่ได้ใช้จะหายไป
                                     ดังนั้น การใช้เวลาของเด็กในช่วงวัยประถมศึกษานี้ ไม่ว่าจะเป็นการท�ากิจกรรม                       วินัยเชิงบวก (Positive Disciplines) เป็นแนวปฏิบัติที่พัฒนาขึ้นจากการบูรณาการ

                                     หรือประสบการณ์ต่างๆ ที่ได้รับ ล้วนมีอิทธิพลต่อการจัดระบบประสิทธิภาพและ                        องค์ความรู้ ข้อมูลการทดลอง งานวิจัย และแนวคิดของพัฒนาการแต่ละด้านของเด็ก
                                     ความสามารถของสมองเมื่อเติบโตไปเป็นวัยรุ่นและเป็นผู้ใหญ่ในวันหน้า                              ได้แก่ จิตวิทยา สังคมวิทยา และพฤติกรรมศาสตร์ ในช่วงเริ่มแรก แม้ว่าจะได้รับ
                                       จากข้อเท็จจริงที่ว่า ประสบการณ์ใหม่ๆ จะกระตุ้นการเชื่อมต่อของสมองและ                        ความสนใจว่าเป็นแนวความคิดที่สอดคล้อง เพื่อให้เด็กเติบโตขึ้นมาจากสิ่งแวดล้อม
                                     เส้นทางประสาทใหม่ๆ (synapse) และการเชื่อมต่อที่ไม่ได้ใช้จะถูกตัดออก (pruning)                 และประสบการณ์ที่เด็กๆ ได้รับจากผู้ใหญ่ที่อยู่รอบตัว อันจะน�าไปสู่การมีพฤติกรรม

                                     ท�าให้ได้ข้อสรุปว่า สมองของเด็กมีการเจริญเติบโตขึ้นทุกๆ วัน และรูปแบบการพัฒนา                 เหมาะสมตามธรรมชาติและพัฒนาการมนุษย์ (Mind & Behavior) แต่วินัยเชิงบวก
                                     ของสมองในแต่ละวันล้วนเป็นผลมาจากสิ่งแวดล้อมและประสบการณ์ที่ได้รับจาก                          ยังเป็นแนวความคิดที่มีความเป็นนามธรรมกว้างๆ และในบางกรณีผู้ใช้ตัดสินใจ
                                     ผู้ใหญ่ที่อยู่รอบตัว ปฏิสัมพันธ์ที่เกิดจากรูปแบบการสื่อสารที่เราใช้กับเด็กในชีวิตประจ�าวัน    เลิกใช้กลางคัน เนื่องจากรู้สึกว่าไม่ได้ผลหรือไม่สามารถหาเหตุผลมาอธิบายได้   Positive
                                     นั้น นอกจากจะมีอิทธิพลต่อลักษณะนิสัยและบุคลิกภาพของเด็กแล้ว ยังเป็นปัจจัย                       ต่อมาเมื่อองค์ความรู้ทางประสาทวิทยาศาสตร์  (Neuronscience) ที่บอกว่ามนุษย์  Disciplines

                                     ส�าคัญที่ช่วยสร้างรูปแบบกระบวนการคิดและโครงสร้างสมองของเด็กอีกด้วย                            เรียนรู้อย่างไร ถูกน�ามาบูรณาการร่วมกันกับศาสตร์ของจิตวิทยาและการศึกษา
                                       ดังนั้นวิธีที่ผู้ใหญ่ควรใช้เพื่อสอนให้เด็กๆ ประพฤติปฏิบัติตัว ควรเป็นการให้เด็ก             (Mind, Brain, & Education) โดยมีเจตนารมณ์ในการปรับปรุงแนวทางการศึกษา
                                     ได้มีประสบการณ์ตรงที่ดี ใหม่ๆ ซ�้าๆ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยและมั่นคง                      (Stein & Fischer, 2011, p.57) เพื่อช่วยให้นักวิชาการออกแบบการเรียนการสอนให้
                                     ดังที่นักวิจัยจากศูนย์พัฒนาการเด็กแห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดได้ให้ข้อสรุปไว้ว่า                 กับเด็กได้อย่างเหมาะสม โดยยึดถือตามข้อเท็จจริงเรื่องการเรียนรู้ของสมองและการ

                                     การสนับสนุนให้เด็กๆ มีทักษะสมอง EF จ�าเป็นต้องสร้างตั้งแต่ที่บ้าน ผ่านการฝึกฝน                ตอบสนองทางจิตใจมนุษย์ที่เรียกว่า Neuroeducation วินัยเชิงบวกจึงได้รับการพัฒนา
                                     และใช้ประสบการณ์ นี่คือ “หน้าที่ส�าคัญอย่างหนึ่งของสังคม”                                     ขึ้นโดยใช้หลักการท�างานของสมองเข้ามาอธิบายถึงการเรียนรู้และพฤติกรรมของเด็ก
                                                                                                                                   ได้อย่างชัดเจนมากขึ้น




            104                                                                                                                                                                                                                  105
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109