Page 108 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 108

1) มุ่งรักษาความสัมพันธ์เป็นหลัก                                                              2) มุ่งสร้างวินัยในตนเอง
                                       หลักการของจิตวิทยาเชิงบวก คือ เด็กจะเรียนรู้ได้ดีที่สุดผ่านความสัมพันธ์ที่ท�าให้              หนึ่งในเป้าหมายสูงสุดของการใช้เทคนิควินัยเชิงบวกคือการให้เด็กมีวินัยในตนเอง
                                     พวกเขาได้รับการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์ นั่นคือ เด็กต้องรู้สึก                  นั่นคือ เด็กสามารถเลือกและตัดสินใจที่จะมีพฤติกรรมที่เหมาะสมได้ด้วยตนเองแม้ยาม
                                     ได้ถึงความรัก ความอบอุ่น ความปลอดภัยจากการเลี้ยงดู ซึ่งท�าให้พวกเขาเกิดความ                   ไม่มีพ่อแม่หรือครู เพราะไม่มีใครที่จะสามารถตามไปก�ากับควบคุมใครได้ตลอดเวลา

                                     ไว้วางใจ มีความอบอุ่น และรู้สึกว่าได้รับการสนับสนุนอย่างใกล้ชิด เหมาะสมตาม                    หรือตลอดชีวิต ดังนั้นผู้ใหญ่ที่ใช้เทคนิควินัยเชิงบวกจะมุ่งเน้นไปที่การให้เด็กได้ฝึกการ
                                     ช่วงวัย                                                                                       วางแผน การตัดสินใจในการเลือก และมีประสบการณ์จากการกระท�าของตนเอง
                                                                                                                                   เพื่อสะสมประสบการณ์ว่าตนเองท�าได้ คิดได้ และเห็นคุณค่าในตนเอง (self-esteem,
                                       ความไว้วางใจจะเกิดขึ้นได้เมื่อผู้ใหญ่แสดงความเคารพในตัวเด็ก ความเคารพมาจาก
                                     ความตระหนักว่าเด็กก็มีความคิด ความรู้สึก และความต้องการเหมือนผู้ใหญ่ เพียงแต่                 self-worth) โดยหลีกเลี่ยงการบังคับ การลงโทษ และควบคุมภายนอก เนื่องจากจะท�าให้
                                     ความคิด ความรู้สึก และความต้องการของเด็กนั้นจะเป็นไปตามประสบการณ์และ                          เด็กเกิดความรู้สึกตรงกันข้าม คือเป็นคนไม่มีคุณค่า ไม่มีความสามารถ เมื่อเติบโตขึ้นมา
                                     พัฒนาการทางจิตวิทยาสังคม (psychosocial development) ของแต่ละช่วงวัย                           จะกลายเป็นคนที่ไม่กล้าคิด ไม่กล้าตัดสินใจ และไม่ลงมือท�า

                                     ซึ่งการเข้าใจพัฒนาการทางจิตใจของเด็ก เป็นปัจจัยส�าคัญที่จะท�าให้ผู้ใหญ่เข้าใจถึง                การท�าให้รู้สึกกลัวแม้จะได้ผลในการควบคุมพฤติกรรมในบางครั้ง แต่ระยะยาวแล้ว
                                     พฤติกรรมและตอบสนองเด็กได้อย่างเหมาะสม เช่น ผู้ใหญ่ที่ใช้เทคนิควินัยเชิงบวก                    จะส่งผลลบต่อสุขภาพจิตที่ดีของผู้ที่ถูกท�าให้กลัว เช่น การข่มขู่ การตะคอก การไล่ให้
                                     จะมุ่งให้ความส�าคัญ (empowerment) ไปที่กระบวนการคิดและการท�างานของเด็ก                        ไปอยู่คนเดียว เหล่านี้ล้วนน�าไปสู่ความรู้สึกกลัว และไม่ได้พัฒนาให้เกิดทักษะจากภายใน
                                     เพราะรู้ว่าเด็กในวัยประถมนั้นความรู้สึกว่าตนเองมีความสามารถในการท�างานและ                     เนื่องจากแรงผลักดันที่ท�าให้อยากท�าพฤติกรรมหนึ่งๆ นั้นไม่ได้มาจากความรู้สึกที่อยากท�า
                                     ประสบความส�าเร็จเรื่องการมีเพื่อนถือเป็นเรื่องส�าคัญ (senses of competence)                   แต่เป็นความรู้สึกที่กลัวจะไม่ปลอดภัยหากไม่ท�า ถือเป็นการควบคุมภายนอก ทั้งนี้การ

                                     ดังนั้นการชมเด็กในวัยนี้จะเน้นไปที่กระบวนการของความส�าเร็จ เช่น “น้องแม่็คคอยกล้า             มุ่งเน้นไปที่การใช้ของรางวัลล่อใจหรือการติดสินบนก็เป็นการควบคุมภายนอกเช่นเดียวกัน
                                     มากที่เดินเข้าไปถามเพื่อนใหม่ว่าขอเล่นด้วยได้ไหม ครูภูมิใจในตัวหนูมากครับ”                    เพราะพฤติกรรมไม่ได้เกิดขึ้นจากผู้ท�าต้องการมีพฤติกรรมนั้นด้วยตนเองเช่นกัน
                                       เมื่อพิจารณาร่วมกับความรู้จากประสาทวิทยาที่ว่า การปกป้องตนเองเพื่อเอาตัวรอด                   การควบคุมภายนอกไม่ว่าจะเป็นการขู่ การดุ การท�าร้ายร่างกาย หรือการใช้ของรางวัล

                                     เป็นหน้าที่หลักของสมอง ที่พร้อมท�างานตั้งแต่แรกคลอด ณ วินาทีแรก จึงมีความ                     ล่อ จะส่งผลให้สมองมีปฏิกิริยาเพื่อให้เกิดพฤติกรรมหนึ่งๆ เมื่อมีปัจจัยภายนอกเหล่านี้
                                     สอดคล้องกับหลักจิตวิทยาที่ว่า เด็กจะเรียนรู้ได้ดีบนความสัมพันธ์ที่ดี จากการที่ได้รับ          มากระตุ้นเท่านั้น ซึ่งอาจจะน�าไปสู่ความรู้สึกเครียด ส่วนผลในระยะยาวนักประสาทวิทยา
                                     ความรู้สึกปลอดภัยทั้งทางร่างกายและจิตใจ ดังนั้นผู้ที่ใช้เทคนิควินัยเชิงบวกจะหลีกเลี่ยง        พบว่าความรู้สึกเครียดเรื้อรังหรือความรู้สึกด้านลบเหล่านี้จะผลิตสารเคมีที่ท�าลายเซลล์
                                     การใช้ความรุนแรงทุกรูปแบบที่ท�าร้ายร่างกายและจิตใจของเด็ก เช่น ตี หยิก เปรียบเทียบ            ประสาทและกระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล เพราะเส้นทางการคิดของสมองคุ้นชินกับการ
                                     ประชด ประจาน เพราะผู้ใหญ่ที่ใช้ความรุนแรงและควบคุมอารมณ์ตัวเองไม่ได้จะท�าให้                  มองโลกแง่ร้ายและการปกป้องตัวเอง ในขณะเดียวกันของรางวัลจะกลายเป็นแรงขับให้

                                     เด็กรู้สึกว่าถูกคุกคามต่อความปลอดภัยและจะกระตุ้นความรู้สึกด้านลบ เช่น กลัว                    เกิดพฤติกรรม กล่าวคือสมองจะหลั่งสารความสุขเมื่อได้รับของรางวัล เมื่อไม่มีของรางวัล
                                     วิตกกังวล เครียด ท�าให้เด็กตอบสนองด้วยสัญชาตญานของการปกป้องตนเองแทน                           พฤติกรรมหรือแรงขับอาจไม่เกิดขึ้น แต่เทคนิควินัยเชิงบวกมุ่งเน้นว่าสารความสุขนั้นควร
                                     การใช้ทักษะสมอง EF                                                                            หลั่งเมื่อตนเองลงมือท�า ค้นคว้า พยายามจนส�าเร็จ เกิดความรู้สึกปลื้มปิติ เมื่อสะสม
                                                                                                                                   ความรู้สึกนี้ไปเรื่อยๆ เด็กจะเกิดความรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าและความสามารถ
                                                                                                                                     จากการค้นพบว่า เราสามารถฝึกสมองให้มีวินัยในตัวเองได้จากการฝึกคิดและ
                                                                                                                                   มีพฤติกรรมแบบเดิมซ�้าๆ นักการศึกษาจึงใช้เทคนิควินัยเชิงบวกเพื่อให้เด็กๆ ได้ฝึก
                                                                                                                                   ที่จะควบคุมตนเอง มีวินัยในตนเองจากภายใน







            108                                                                                                                                                                                                                  109
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113