Page 110 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 110

3) มุ่งสร้างทักษะ                                                                                   4) มุ่งการสอน
                               ทักษะหมายถึงเรียนรู้และฝึกฝนจนช�านาญ ทักษะเป็นสิ่งส�าคัญที่เทคนิควินัยเชิงบวกมุ่งเน้น                 บ่อยครั้งที่ผู้ใหญ่พูดสอน แต่เด็กๆ จะบอกว่าผู้ใหญ่ชอบสั่ง เพราะลักษณะการพูด
                             ที่จะสร้างให้กับเด็กๆ ได้บรรลุเป้าหมายสูงสุดของเทคนิควินัยเชิงบวก นั่นคือการมีวินัยในตนเอง            สื่อสารออกมานั้นส่งผลให้ผู้ฟังเกิดความรู้สึกที่บิดเบือนไปจากเจตนาของผู้พูดได้
                             ดังนั้น ผู้ใช้เทคนิควินัยเชิงบวกต้องนึกถึงทักษะและกระบวนการที่จะช่วยให้เด็กเกิดพฤติกรรม                 แนวคิดทางจิตวิทยากล่าวถึงเทคนิคการสื่อสารที่ให้ผลแตกต่างกันว่า การพูดสอน

                             ที่เหมาะสม เช่น ฝึกให้เด็กรู้จักอารมณ์ บอกอารมณ์ตัวเองได้ และในที่สุดเกิดเป็นทักษะควบคุม              ด้วยการใช้ค�าว่า “ห้าม ไม่ อย่า หยุด” นั้น แม้ผู้พูดจะต้องการสอนแต่ผู้ฟังรู้สึกว่า
                             อารมณ์ ซึ่งในกระบวนการสร้างทักษะนั้นจะต้องให้เวลาในการฝึกฝน ผู้ใช้เทคนิควินัยเชิงบวก                  นี่คือการสั่ง การบังคับ การห้าม ซึ่งความรู้สึกของการโดนสั่ง เป็นการสร้างความรู้สึก
                             จะต้องแสดงความรับรู้ในความก้าวหน้าแต่ละก้าวของเด็ก แม้จะเป็นก้าวเล็กๆ ด้วยการให้ก�าลังใจ              ไม่เป็นมิตร ถูกควบคุม กระตุ้นความรู้สึกอยากต่อต้าน และที่ส�าคัญการบอกว่าห้าม
                             และมุ่งเน้นไปที่กระบวนการและความพยายามของเด็กเอง สอดคล้องกับแนวคิดจิตวิทยาสังคม                       ท�าอะไรนั้นไม่ได้สอนว่าแล้วต้องท�าอะไร ในขณะที่เทคนิควินัยเชิงบวกจะหลีกเลี่ยงค�า

                             ที่ว่า การที่เด็กได้รับรู้ว่าตนเองมีความสามารถและท�าสิ่งต่างๆ จนประสบความส�าเร็จได้ด้วยตนเอง          พูดที่กระตุ้นการต่อต้าน การไม่เป็นมิตร และมุ่งไปที่การบอกให้เห็นภาพชัดเจนว่า
                             จะช่วยสร้าง self - esteem และ self - worth ให้กับเด็กได้ ซึ่งเป็นปัจจัยส�าคัญในการท�าให้              อยากให้ท�าอะไรที่เหมาะสม เช่น เมื่อเด็กวิ่งเล่นในห้อง ครูที่ใช้เทคนิควินัยเชิงบวก
                             คนๆ หนึ่งชอบและกล้าเรียนรู้                                                                           จะบอกกับเด็กๆ ว่า “เดินช้าๆ” แทนการบอกว่า“อย่าวิ่งในห้อง”
                               เมื่อพิจารณาร่วมกันกับความรู้ทางประสาทวิทยา แสดงให้เห็นถึงกระบวนการของสมองว่า                         ซึ่งแนวคิดดังกล่าวมีความสอดคล้องกับแนวคิดของประสาทวิทยา คือ การใช้ค�าพูด

                             ทุกครั้งที่มนุษย์ใช้ประสาทสัมผัสต่างๆ ของร่างกายในการเรียนรู้ เส้นใยประสาทจะส่งกระแสไฟฟ้า             “ห้าม ไม่ อย่า หยุด” นั้นสมองจะแสดงผลที่สมองส่วนอารมณ์ ในขณะที่การบอกเด็ก
                             หากันเรียกว่า synapse และก่อสร้างขึ้นเป็นเครือข่ายโยงใยประสาท และเส้นใยประสาทเหล่านี้จะ               ว่าให้ท�าอะไร สมองจะแสดงผลที่สมองส่วน EF
                             มีประสิทธิภาพมากขึ้นต่อเมื่อมีการลงมือท�าซ�้าๆ เส้นใยประสาทใดไม่ค่อยได้ถูกท�าซ�้าจะถูกท�าลาย                    ทั้งนี้นอกจากการเลือกใช้ค�าแล้ว น�้าเสียง สีหน้า ท่าทางก็เป็นสื่อในการส่งสาร
                             (pruning) ไปในที่สุด ดังนั้นเทคนิควินัยเชิงบวกจะหลีกเลี่ยงการลงโทษ เพราะการลงโทษไม่ได้ช่วย            ไปยังเด็กซึ่งสมองจะตีความหมายตลอดเวลาอีกด้วย ดังนั้นผู้ใช้เทคนิควินัยเชิงบวกจะ

                             ให้เกิดการใช้เส้นใยประสาทในทักษะที่เราต้องการสร้าง แต่จะใช้การได้รับผลที่ท�าให้เกิดทักษะ              ใช้น�้าเสียงและสีหน้าอ่อนโยนราบเรียบธรรมดาและเป็นมิตรตลอดเวลา แม้กระทั่ง
                             การรับผิดชอบต่อการตัดสินใจและการกระท�าของตนเอง นั่นคือเทคนิควินัยเชิงบวกมีเป้าหมาย                    ตอนก�าลังโมโห ก็ต้องควบคุมและแสดงอารมณ์ในการโมโหได้อย่างหมาะสม เพราะ
                             เป็นทักษะ (ไม่ใช่การลงโทษ) ที่ต้องการให้เกิดกับเด็ก เช่นหากเด็กเล่นแล้วไม่เก็บของเล่น                 การเป็นต้นแบบ (role model) เป็นการสอนทางหนึ่งที่ผู้ใช้เทคนิควินัยเชิงบวกควร
                             เข้าที่ตามข้อตกลง เมื่อถึงเวลาที่เด็กก�าลังจะเล่นอีก ครูจะบอกกับเด็กว่า                               ตระหนักตลอดเวลาเช่นกัน

                               “เล่นแล้วไม่เก็บแปลว่าวันนี้หนูไม่เล่นแล้ว มุมของเล่นปิดค่ะ”
                               “ถ้าหนูอยากเล่นต้องท�ายังไงคะ พรุ่งนี้ลองใหม่ได้ค่ะ”
                               ค�าที่เลือกใช้ในประโยคเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงผลที่เกิดขึ้นตามมาจากการกระท�าของตนเอง                                    เป้าหมายการสร้างวินัยเชิงบวก
                             ซึ่งจะต้องมีความเป็นเหตุเป็นผลกัน และต้องมุ่งสร้างทักษะ คือ การมีระเบียบวินัยและ                                  Do :  มุ่ง                     Don't : หลีกเลี่ยง

                             ความรับผิดชอบ หากมองจากภายนอกอย่างผิวเผินอาจจะดูคล้ายกับว่าเป็นการลงโทษด้วยการ                          •  รักษาความสัมพันธ์เป็นหลัก       •  การท�าร้ายจิตใจ ร่างกาย
                             ไม่ให้เล่น แต่ด้วยค�าพูดที่เลือกใช้ในการสื่อสาร ท�าให้เด็กได้ฝึกใคร่ครวญถึงพฤติกรรมตนเอง
                             ซึ่งเป็นสิ่งที่เทคนิควินัยเชิงบวกยึดถือเป็นหัวใจส�าคัญ นั่นคือรับผลที่เกิดขึ้นตามมาจากการ               •  สร้างวินัยในตนเอง               •  การควบคุมจากภายนอก
                             กระท�าของตนเอง ไม่ใช่รับการลงโทษจากผู้อื่นที่เป็นการควบคุมจากภายนอกและไม่สร้าง                          •  สร้างทักษะ                      •  การลงโทษ

                             ทักษะ เช่น “เล่นแล้วไม่เก็บต้องถูกตี” หรือ “เล่นแล้วไม่เก็บต่อไปไม่ต้องมาเล่นแล้ว” การถูกตี             •  สอน                             •  การสั่ง
                             ไม่ได้ช่วยสร้างทักษะ และการบอกว่าต่อไปไม่ต้องมาเล่นเป็นการขู่ ก็ไม่ใช่การสร้างทักษะเช่นกัน






            110                                                                                                                                                                                                                  111
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115