Page 115 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 115

4.2 เป็นพวกเดียวกับเด็กเสมอ    4.4 Inner Voice
   การได้รับการตอบสนองทางจิตใจเป็นสิ่งส�าคัญที่จะป้องกันพฤติกรรมต่อต้าน     นอกจากการตีความหมายของสมองและการตอบสนองทางจิตใจแล้วนั้น สิ่งที่
 ที่เกิดจากการใช้อารมณ์ ดังนั้นการสื่อสารเพื่อให้เด็กรู้สึกว่าครูหรือพ่อแม่เป็นพวกเดียว  เทคนิควินัยเชิงบวกให้ความส�าคัญอีกสิ่งหนึ่งคือการเลือกใช้ค�าพูดและการสื่อสาร

 กับเด็กเสมอ จะช่วยป้องกันสถานการณ์การต่อต้าน และยังเป็นการสร้างเสริมความ  กับเด็กมากเป็นพิเศษ เพราะค�าพูดเหล่านี้จะกลายเป็นเสียงในหัวของเด็กที่มีไว้เพื่อ
 สัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน ซึ่งเป็นหนึ่งในเป้าหมายหลักของเทคนิควินัยเชิงบวกอีกด้วย   บอกและก�ากับตนเองต่อไป ในกระบวนการสร้างวินัยของเด็กเองเราเรียกว่า inner
 การสื่อสารที่จะท�าให้เด็กรู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกับเด็กเสมอ คือการที่ครูหรือพ่อแม่แสดง  voice จึงเป็นที่มาของการบอกว่า อยากให้เด็กเป็นอย่างไรให้พูดสิ่งนั้นบ่อยๆ
 ความเข้าใจในความรู้สึกของเด็ก อนุญาต รัก สนใจ และเป็นห่วงเสมอ เช่น   เพราะเด็กจะตีความหมายและน�าไปบอกตนเอง เสียงนั้นควรเป็นเสียงที่มีคุณภาพ

              พอที่จะช่วยเด็ก เพื่อให้บรรลุเป้าหมายหลักที่เด็กจะมีวินัยได้ด้วยตนเอง
   สถานการณ์ :  เมื่อเด็กพูดคุยเสียงดังภายในห้องเรียน
   แทนที่จะพูดว่า “เงียบๆ หน่อย” “จะเรียนกันมั้ยวันนี้”    4.5 ต่อเนื่อง
   เทคนิควินัยเชิงบวกจะพูดว่า “เรื่องที่คุยกันต้องเป็นเรื่องที่น่าสนุกมากแน่ๆ ครูเอง    เพราะการสร้างทักษะและกระบวนการคิดนั้นเกิดขึ้นจากการกระตุ้นและพัฒนา

 ก็อยากฟัง เรารีบเรียน เสร็จแล้วมาเล่ากันดีกว่า” หรือ “ครูเข้าใจว่าหนูอยากคุยกัน   สมองส่วน EF ที่มีการเจริญเติบโตจากทารกไปสู่วัยผู้ใหญ่ ในขณะที่การแสดงออก
 ครูให้เวลาคุยอีก 2 นาที แล้วที่เหลือเก็บไว้คุยหลังเรียนเสร็จ”   ตามสัญชาตญานนั้นไม่ต้องเรียนรู้หรือฝึกฝนเด็กก็สามารถท�าเป็น เช่น การโกหก
              ดังนั้นการสื่อสารเพื่อสร้างทักษะใดๆ ก็ตามที่เป็นทักษะและพฤติกรรมที่เหมาะสม
   4.3 ใจดี ไม่ใจอ่อน (kind but firm)  ต้องมีความต่อเนื่องและใช้เวลาเพื่อให้เด็กเรียนรู้และฝึกฝน

   มักจะเข้าใจกันผิดว่าเทคนิควินัยเชิงบวกเป็นการตามใจเด็ก เพราะการมุ่งรักษา
 ความสัมพันธ์เป็นเป้าหมายหลัก แต่หากพิจารณาตามเป้าหมายหลักข้ออื่นของเทคนิค
 วินัยเชิงบวกจะพบว่า การสอนการสร้างทักษะและการสร้างวินัยในตนเองนั้นไม่ใช่การ  หลักการท�างานของเทคนิควินัยเชิงบวก
 ตามใจ เพราะเทคนิควินัยเชิงบวกเห็นความส�าคัญของกระบวนการท�างานของสมองซึ่ง

 สมองส่วน EF จะท�างานได้เมื่อสมองส่วนอารมณ์และสัญชาตญานได้รับการตอบสนองก่อน   ใจดีแต่ไม่ใจอ่อน
 ดังนั้นการสื่อสารจะเป็นไปในรูปแบบของการใจดี ซึ่งเป็นการตอบสนองความต้องการ
 ทางจิตใจของเด็ก พร้อมทั้งหลีกเลี่ยงการกระตุ้นการต่อต้าน แต่ไม่ใจอ่อน  ยังจะฝึกฝน  ตีความหมาย
 ให้เด็กเกิดทักษะการควบคุมอารมณ์ตลอดจนทักษะกระบวนการคิด หรือทักษะสมอง   การกระท�าของเด็ก
                        ให้เด็กได้เรียนรู้
 EF ด้านอื่นๆ เพราะการฝึกฝนจะท�าให้เกิดเป็นวินัยในตนเองได้ ตัวอย่างเช่น   เป็นพวกเดียว
                                                        กับเด็กเสมอ

   สถานการณ์ : เมื่อนักเรียนไม่กินอาหารกลางวันและบอกว่าไม่หิว มาบอกว่าหิวข้าว
   หลังจากเลยเวลาอาหารกลางวันมาแล้ว

   แทนที่จะพูดว่า “นี่ไม่ใช่เวลากินข้าว” “หาอะไรรองท้องไปก่อน”  สร้าง
   เทคนิควินัยเชิงบวกจะพูดว่า “ขอบคุณครับที่บอกครู จ�าไว้นะความรู้สึกนี้แหละ    inner voice  ให้เด็กได้เรียนรู้
   ครับที่เรียกว่าหิว ครั้งหน้ากินเมื่อถึงเวลาควรกินไว้ก่อนนะครับ”   ให้กับเด็ก  ต่อเนื่อง








 114                                                                                                         115
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120