Page 113 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 113

ตัวอย่างเทคนิควินัยเชิงบวกที่บรรลุเป้าหมายหลัก  3. ความหมายของเทคนิควินัยเชิงบวก


   เทคนิค “ได้...เมื่อ...” (when/then)     จากแนวคิดและเป้าหมายดังกล่าวข้างต้น ความหมายของวินัยเชิงบวกจึงหมายถึง

   สถานการณ์ : เมื่อเด็กต้องการท�ากิจกรรมอย่างหนึ่งและครูต้องการให้ท�าอีก
 อย่างหนึ่ง เช่น นักเรียนมาขออนุญาตไปเล่นแต่ยังท�าใบงานไม่เสร็จ     “การมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กด้วยเทคนิคการสื่อสารที่มุ่งสร้างประสบการณ์และ
               ความสัมพันธ์ที่มีคุณภาพ โดยการตอบสนองพัฒนาการทางจิตใจและสร้างสรรค์
   แทนที่จะพูดว่า : “ถ้างานไม่เสร็จก็ไม่ต้องไปเล่น” เพราะการพูดในลักษณะ   กระบวนการคิดทางสมองตามพัฒนาการมนุษย์แต่ละด้านแต่ละวัยอย่างต่อเนื่อง

 ตั้งเงื่อนไขคล้ายท้าทายข่มขู่ ซึ่งกระตุ้นความรู้สึกด้านลบ ท�าให้เด็กรู้สึกอยากต่อต้าน  จนเด็กมีทักษะและพฤติกรรมที่เหมาะสมด้วยตนเอง”
 จากการรู้สึกไม่ปลอดภัย ไม่อยากท�าตาม น�ามาซึ่งพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมต่างๆ
 ตามมา ที่ส�าคัญเป็นการบั่นทอนความสัมพันธ์และความไว้วางใจ
   ให้พูดว่า :  “ได้สิ(เมื่อ)ใบงานเสร็จแล้วไปเล่นเลยครับ ครูอยากให้ได้เล่นนานๆ

 เลยครับ รีบเสร็จดีกว่า”   4. หลักการท�างานของเทคนิควินัยเชิงบวก
   ค�าว่า “ได้” เป็นการแสดงถึงการอนุญาต ไม่กระตุ้นความรู้สึกต่อต้าน และการที่
 ผู้ใหญ่บอกว่าจะได้ท�าเมื่อไรนั้นเด็กจะรู้สึกว่าเป็นการชี้แนะทางออกให้ ไม่ใช่การสร้าง    จากแนวคิด เป้าหมาย และความหมาย ท�าให้เทคนิควินัยเชิงบวกมีหลักการท�างาน
 เงื่อนไข โดยเฉพาะถ้าบอกว่าเราเห็นด้วยและอยากให้เด็กได้ท�าในสิ่งที่อยากท�าเยอะๆ   ที่เน้นปฏิสัมพันธ์กับเด็กด้วยการสื่อสารที่สอดคล้องกับสมองและตอบสนองจิตใจ

 เร็วๆ         ตามพัฒนาการเด็ก ดังนั้นหลักการที่ใช้พิจารณาว่าเป็นเทคนิควินัยเชิงบวกที่เหมาะสม
               หรือไม่ สามารถพิจารณาหลักการได้ดังต่อไปนี้


                 4.1 เข้าใจความหมายของสารที่สื่อออกไปตรงกัน
 เป้าหมายเทคนิควินัยเชิงบวก    เพราะสมองมีหน้าที่ในการตีความหมายสิ่งรอบตัวอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นครูจะต้อง
 2             ตระหนักให้ดีว่า ค�าพูด สีหน้า ท่าทาง พฤติกรรมต่างๆ ของครูและสิ่งรอบตัวนั้น สมอง
 1  สร้างวินัยในตนเอง
 ท�าให้ผู้ฟังรู้สึกว่าเป็น   เพราะเป็นเด็กเองที่ควบคุม  ของเด็กนักเรียนก�าลังเรียนรู้ด้วยการตีความหมายและสร้างความเข้าใจให้กับตนเอง
 พวกเดียวกัน ความสัมพันธ์   พฤติกรรมของตนเอง ซึ่งครู  ดังนั้น ตามที่เป้าหมายหลักของเทคนิควินัยเชิงบวกคือมุ่งสอนและสร้างทักษะ
 ยังอยู่อย่างแน่นแฟ้น    สามารถชื่นชมได้เมื่อเด็ก  ครูจึงต้องแสดงให้เด็กๆ ได้เรียนรู้ถึงการมีพฤติกรรมที่เหมาะสมด้วยการตีความหมาย
 และยังได้ผลลัพธ์   ท�างานเสร็จแล้วจึงไปเล่น   จากการกระท�าของเด็กให้เด็กได้เรียนรู้ เช่น
 เป็นทางออกที่เหมาะสม  เป็นการชี้ชัดให้เกิด   4
 self-esteem  มีการสอนเรื่อง
 การจัดล�าดับความส�าคัญ     สถานการณ์ : เมื่อเด็กเล่นของเล่นหรือเล่นกับเพื่อนรุนแรง
 3  และความรับผิดชอบเป็น    แทนที่จะพูดว่า “ท�าไมไปท�าเพื่อนเจ็บ” “เล่นแบบนี้เดี๋ยวของเล่นพัง”
 สร้างทักษะเรื่องความ  เป้าหมายหลัก ไม่ใช่เอา    เทคนิควินัยเชิงบวกพูดว่า “ท�าแบบนี้แปลว่าไม่เล่นแล้ว”
 รับผิดชอบเพราะยังคง  เรื่องความอยากเล่นของเด็ก
 รักษาให้เกิดพฤติกรรม  มาเป็นประเด็นในการสอน
 ที่เหมาะสมว่า เล่นควร
 มาทีหลังงาน




 112                                                                                                         113
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118