Page 121 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 121

เป็นที่ทราบกันดีว่า คุณลักษณะของครูมีผลอย่างยิ่งต่อการพัฒนาเด็ก เนื้อหา
  ในบทนี้มีความประสงค์จะชวนให้คุณครูกลับมาตรวจสอบตัวเองว่ามีจุดแข็งจุดอ่อน
 อย่างไรในการส่งเสริมพัฒนาทักษะสมอง EF เพื่อที่จะน�าไปสู่การพัฒนาตนเองในแง่
 มุมต่างๆ และตอนท้ายของบท จะกล่าวถึงบทบาทของพ่อแม่ที่มีต่อการส่งเสริม

 การพัฒนาสมอง EF เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อคุณครูที่จะใช้เป็นข้อมูลน�าไปสร้าง
 ความรู้ความเข้าใจให้กับผู้ปกครอง เพื่อให้บทบาทของครูและพ่อแม่มีความเหมาะสม
 สอดคล้อง เป็นไปในทิศทางเดียวกัน

 คุณลักษณะส�าคัญของครูที่ส่งเสริมการพัฒนา


 ทักษะสมอง EF ของเด็ก



     1.  มีความรู้เรื่องทักษะสมอง EF
     มีความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการท�างานของสมอง รู้จักองค์ประกอบ
 ของทักษะสมอง และสามารถวิเคราะห์ได้ว่าในกระบวนการเรียนรู้หรือพฤติกรรม

 ใดๆ ของเด็กนั้น ทักษะสมอง EF ด้านใดก�าลังพัฒนา รวมทั้งใส่ใจ ไตร่ตรอง และ
 มุ่งเป้าหมายสู่การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองการพัฒนาทักษะสมอง EF ให้กับ
 เด็กได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนหมั่นตรวจสอบบทบาทของตัวเองว่าได้ให้โอกาสเด็ก
 ในการพัฒนาทักษะสมอง EF อย่างเต็มที่หรือไม่ หรือมีพฤติกรรมใดที่เป็นอุปสรรค

 ต่อการพัฒนาทักษะสมอง EF ของเด็กโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ประเด็นที่น่าสนใจ คือ
 ครูเป็นคนส�าคัญ (key person) เมื่อครูได้เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องการพัฒนาทักษะสมอง
 EF ตระหนัก เข้าใจ เรียนรู้และน�าสู่การปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง “ยิ่งเรียนรู้ ยิ่งลงลึก”
 ผลที่เกิดขึ้นกับเด็ก จะท�าให้เด็กสนุกกับการเรียนรู้และครูมีความเบิกบานใจอย่าง       3.  มีทัศนะเชิงบวก (Positive Mind) และใจกว้าง

 น่าอัศจรรย์ใจ        ครูต้องมีความเชื่อมั่นในตัวเอง เชื่อว่าสามารถส่งเสริมทักษะสมอง EF ให้เด็ก
                  เกิดการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาได้
     2.  มีความรู้ความเข้าใจเรื่องพัฒนาการของเด็ก      เมื่อครูมีความเชื่อที่ถูกต้องแล้ว ครูจะเป็นคนที่เปิดกว้าง ยอมรับความเป็นจริง
     ถ้าครูมีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็กแต่ละช่วงวัย ครูจะ  ของเด็ก เปิดรับความคิดเห็น และมีความหวังเสมอ ครูที่มีทัศนะเชิงบวกจะมองเห็น

 ไม่คาดหวัง ไม่บีบคั้นกดดันให้เด็กท�าสิ่งใดที่เกินกว่าพัฒนาการ เข้าใจสาเหตุของ  ความก้าวหน้าของเด็กแม้จะเกิดขึ้นเพียงเล็กน้อย แต่ก็ไม่ละเลยที่จะสะท้อนให้เด็ก
 พฤติกรรมที่เกิดขึ้น เข้าใจถึงอารมณ์ ความรู้สึก ความต้องการ เพื่อจะได้หาแนวทาง  ได้เห็นความก้าวหน้าของตัวเอง ก่อให้เกิดแรงจูงใจที่จะพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
 ส่งเสริมพัฒนา ช่วยเหลือ หรือการแก้ไข ได้อย่างถูกต้อง สอดคล้องกับพัฒนาการ       เมื่อเราแปลง “ความหวัง”สู่การก�าหนดเป้าหมาย จะช่วยให้ความหวังของเรา
 ตามวัยและลักษณะนิสัยของเด็กแต่ละคน  มีความชัดเจน เพื่อน�าไปสู่การก�าหนดแนวทางการปฏิบัติที่สามารถประเมินความส�าเร็จได้





 120                                                                                                         121
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126