Page 122 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 122

4. มีความเชี่ยวชาญในทักษะที่หลากหลาย (Multi-skilled)                                         • ทักษะการคาดเดาผลล่วงหน้า ครูที่มีทักษะการคาดเดาผลล่วงหน้า

                                        • ทักษะการสังเกตที่ละเอียดลออ ครูที่มีทักษะการสังเกตที่ละเอียดลออ จะมอง                    จะต้องเป็นคนที่ช่างสังเกต คิดได้ฉับไว จินตนาการได้ชัดว่ากระบวนการเรียนการสอน
                                     เห็นสิ่งที่เด็กสื่อสารด้วยภาษากายได้เป็นอย่างดี เช่น ท่าทาง สายตา น�้าเสียง ท�าให้            หรือกิจกรรมจะด�าเนินไปอย่างไร ความคาดหวังและสิ่งที่จะเกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนคือ
                                     สามารถรับรู้และเท่าทันอารมณ์ของเด็ก ครูที่ช่างสังเกตจะไวต่อการรับรู้บรรยากาศ                  อะไร ถ้ามีสถานการณ์ที่ไม่ได้คาดคิด น่าจะเกิดอะไรได้บ้าง เพื่อตั้งรับ หรือต่อยอด
                                     ในการเรียนการสอน และพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนได้อย่างทันท่วงที  สามารถสังเกตเห็น                  ต่อไปได้อย่างเหมาะสม

                                     ความกระตือรือร้น หรือความอ่อนล้าในการเรียนของเด็ก มองเห็นวิธีเรียนรู้และ
                                     ความก้าวหน้าของเด็กเป็นรายบุคคล หรือเมื่อท�างานร่วมกันเป็นกลุ่ม ครูที่ช่างสังเกต                5.  มีท่าทีรับฟัง
                                     จะสามารถหาจังหวะที่เหมาะสมในการเข้าไป ถอยออกมา หรือเพียงเฝ้าดูอยู่ใกล้ๆ                         ครูที่ดีควรมีท่าทีในการรับฟังเวลาเด็กพูดหรือถามด้วยใจเปิดกว้าง ไม่ชี้ถูกชี้ผิด
                                     เพื่อให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์                                                                 ไม่ตัดสิน เมื่อครูมีท่าทีเช่นนี้ เด็กจะสัมผัสได้ จนเกิดสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน ซึ่งท�าให้

                                        • ทักษะการสื่อสารเชิงบวก ครูที่มีการสื่อสารทางบวกจะมีอิทธิพลต่อเด็กอย่าง                   ครูมีโอกาสที่จะพูดคุย แนะน�า ชี้แนะ ให้ค�าปรึกษาได้มากขึ้น
                                     มาก ทั้งในเรื่องทัศนคติในการเรียนรู้ การเห็นคุณค่าในตัวเอง ก�าลังใจที่จะคิดและลงมือ
                                     ท�า เด็กจะมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง และคงท�าพฤติกรรมที่ดีนั้นต่อไป                              6.  มีวินัยในตนเอง (Self- Discipline)
                                        • ทักษะการกระตุ้นให้เด็กคิด ครูที่มีทักษะการกระตุ้นให้เด็กคิด มักจะใช้ค�าถาม                 เรื่องของการพัฒนาทักษะสมอง EF อาจจะเป็นเรื่องใหม่ส�าหรับครู และครูก็จะต้อง

                                     ปลายเปิดอยู่เสมอ เพื่อกระตุ้นให้คิดอย่างหลากหลาย และรับฟังความคิดเห็น                         เปลี่ยนพฤติกรรมและบทบาทของตนในบางด้าน เช่น เปลี่ยนจากที่ครูริเริ่มเป็นให้เด็ก
                                     ของเด็ก จัดกิจกรรมที่ให้เด็กได้สังเกต ส�ารวจ แล้วเกิดค�าถามที่ต้องการค�าตอบ                   ริเริ่ม เปลี่ยนจากผู้สอนเป็นผู้ร่วมเรียนรู้ เปลี่ยนจากผู้พูดเป็นผู้ฟัง ฯลฯ เพื่อสร้างโอกาส
                                     บางกิจกรรมก็มีการสร้างเงื่อนไขเพื่อให้เด็กได้เผชิญกับปัญหา                                    ให้เด็กได้พัฒนาทักษะสมอง EF ให้แข็งแรงยิ่งขึ้น
                                        • ทักษะการสร้างแรงจูงใจ ครูต้องสร้างความกระตือรือร้นให้ตัวเองอยู่เสมอ                        เป็นที่ทราบกันดีว่า การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความเคยชิน เป็นสิ่งที่ท�าไม่ได้

                                     เพราะความกระตือรือร้นของครูจะส่งผ่านไปเป็นแรงจูงใจให้เด็กๆ อยากเรียนรู้                       โดยง่าย ต้องอาศัยการตระหนักถึงคุณค่าของสิ่งที่จะเกิดขึ้น มีเป้าหมายการเปลี่ยนแปลง
                                     จะท�าให้บทเรียนของครูสนุก เร้าใจยิ่งขึ้น ครูที่มีทักษะการสร้างแรงจูงใจ มักจะตั้ง              ที่ชัดเจน มีวิธีการปฏิบัติ และมีวินัยที่ก�ากับให้ตนเองจดจ่อกับการกระท�าที่จะน�าไป
                                     เป้าหมายที่ท้าทาย และถ้าเป็นเป้าหมายใหญ่ให้แตกเป็นเป้าหมายย่อย เพราะเมื่อเด็ก                 สู่เป้าหมาย เรียกว่าเกาะติดกับเป้าหมาย และหมั่นประเมินตนเองเพื่อให้เห็นความ
                                     ท�าเป้าหมายย่อยส�าเร็จก็เป็นแรงจูงใจภายในที่จะไปสู่เป้าหมายต่อไปได้โดยง่าย การ                ก้าวหน้า เกิดแรงจูงใจภายในที่จะช่วยให้การก�ากับวินัยในตนเองมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

                                     ให้เด็กได้ตั้งสมมติฐาน หรือคาดเดาผลด้วยตัวเอง เป็นแรงจูงใจให้ลงมือท�าหรือเรียนรู้
                                     เพื่อให้รู้ว่าค�าตอบจะตรงกับที่คาดเดาไว้หรือไม่  นอกจากนี้ นิทาน ละคร จะช่วยสร้าง                  7.  ท�างานเป็นทีม (Team Work)
                                     แรงจูงใจให้กับเด็กได้เป็นอย่างดีโดยเฉพาะในเรื่องของลักษณะนิสัย คุณธรรม จริยธรรม                 การท�างานเป็นทีมประกอบด้วยผู้ที่มีความเกี่ยวข้องกับเด็ก ได้แก่ ครู พ่อแม่
                                        • ทักษะการประเมิน ครูที่มีทักษะการประเมิน จะต้องมีทักษะในการสังเกต                         ผู้ปกครอง เพื่อนครู ผู้บริหาร ตลอดจนเครือข่ายที่มีจุดมุ่งหมายเดียวกัน การท�างาน

                                     มีความรู้ด้านพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย มีความสามารถในการจับประเด็น                  เป็นทีมจะช่วยให้เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายเทข้อมูลอันจะเป็นประโยชน์
                                     ที่น่าสนใจหรือสอดคล้องกับเป้าหมาย การสังเกตและจดบันทึกพฤติกรรมและปัจจัย                       ต่อการพัฒนาเรื่องทักษะสมอง EF ในเด็กต่อไป อีกทั้งการท�างานเป็นทีมยังก่อให้เกิด
                                     ส�าคัญที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของเด็ก สามารถสื่อสารผลการประเมินให้กับผู้เกี่ยวข้อง                 พลังร่วมกันที่จะเกื้อหนุนให้การท�างานมีความสนุกสนานและเกิดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์
                                     ได้อย่างดี นอกจากนี้ยังต้องสามารถช่วยให้เด็กได้เรียนรู้และมีทัศนคติที่ดีต่อการ                  ในยุคเทคโนโลยีข่าวสารข้อมูลมีส่วนช่วยให้เกิดการถ่ายเทข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว

                                     ประเมินตนเอง และน�ามาปรับปรุง หรือพัฒนาผลงานและการกระท�าของตนเอง                              และกว้างขวางยิ่งขึ้น สามารถเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ได้โดยง่าย และครูสามารถแลกเปลี่ยน
                                                                                                                                   ประสบการณ์กับกลุ่มความสนใจเดียวกันได้






            122                                                                                                                                                                                                                  123
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127