Page 125 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 125
บทบาทของพ่อแม่เพื่อสนับสนุนการพัฒนา
8. เป็นที่รักและไว้ใจของเด็ก (To be loved & trusted) ทักษะสมอง EF ของเด็ก
เมื่อครูมีความผูกพันที่ดี เป็นที่รักและไว้ใจของเด็ก จะท�าให้เด็กมีความรู้สึกมั่นคง
ปลอดภัย พร้อมที่จะเรียนรู้และก้าวสู่สังคมที่กว้างขึ้น การแสดงออกถึงความรัก
ไม่เพียงแต่การบอกรัก โอบกอด แต่ยังรวมถึงการพร้อมรับฟัง และรับรู้ความรู้สึกของ พ่อแม่ส�าคัญอย่างยิ่งต่อการสนับสนุนการพัฒนาทักษะสมองของเด็ก บทบาทของ
เด็กทั้งความรู้สึกทางบวกและทางลบ การให้โอกาสเด็กได้คิด เลือก และตัดสินใจ พ่อแม่ควรจะเป็นดังนี้
สนับสนุนให้เด็กได้รู้สึกภูมิใจกับความส�าเร็จ ให้ก�าลังใจเมื่อเด็กรู้สึกท้อ เสียใจ เศร้า
ท�าให้เด็กรู้สึกว่าได้รับการยอมรับ ให้อภัย และให้โอกาสที่จะปรับปรุงเมื่อท�าผิดพลาด 1. มีความสนใจ ใฝ่รู้
รวมทั้งยินดีและชื่นชมเมื่อเด็กมีพฤติกรรมที่เหมาะสม พ่อแม่ควรค้นคว้าหาข้อมูลความรู้เพิ่มเติมความเข้าใจที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม
การพัฒนาทักษะสมอง EF การส่งเสริมพัฒนาการและทักษะที่จ�าเป็นส�าหรับลูก
จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายและเชื่อถือได้ เช่น ข้อมูลจากหนังสือ เว็บไซต์ การ
9. วางแผนและจัดการงานเป็น (Planning & Organization)
ครูมีการท�างานอย่างเป็นระบบ ในลักษณะวิจัยและพัฒนา (Research and แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับเพื่อน ผู้ปกครอง ครูของลูก แล้วน�าความรู้มาวิเคราะห์และ
Development) คือ ก�าหนดเป้าหมาย วางแผน มีกระบวนการท�างาน และประเมิน ปรับให้เหมาะสมกับวิถีชีวิตของตนเองและลูก
ผล สามารถสะท้อนผลการเรียนรู้ของเด็กและของครู ประเมินตนเองว่าแนวทาง
ที่ปฏิบัตินั้นว่าถูกต้องเหมาะสมหรือไม่ อย่างไร เพื่อน�าสู่การพัฒนาตน พัฒนางาน 2. สร้างความผูกพันที่ดี
ความรักความผูกพันในครอบครัว ระหว่างพ่อแม่กับลูก ระหว่างพ่อกับแม่และ
สมาชิกในครอบครัว บนพื้นฐานของความรัก ให้เกียรติ ให้อภัย และยอมรับในความ
แตกต่าง จะเป็นรากฐานที่ส�าคัญของความมั่นคงทางจิตใจ การเห็นคุณค่าของตนเอง
ท�าให้เด็กมีความพร้อมที่จะเปิดโลกการเรียนรู้ มีความกระตือรือร้น มีชีวิตชีวา มีจิตใจ
ที่เข้มแข็ง กล้าเผชิญปัญหาและอุปสรรค เช่นเดียวกัน ความผูกพันที่ดีก็จะมีผลต่อ
การพัฒนาทักษะสมอง EF เพราะสมองจะเปิดรับการเรียนรู้และท�างานได้ดีในสภาวะ
ที่คนเรารู้สึกมั่นคง ปลอดภัย
3. เรียนรู้ที่จะรู้จักลูก
การพัฒนาลูกให้มีทักษะสมอง EF ที่ดี และการส่งเสริมพัฒนาการทุกๆ ด้าน
ของลูกนั้น ไม่ใช่เพียงการน�าความรู้และกระบวนการต่างๆ มาใช้ทันที แต่พ่อแม่ต้อง
ให้ความส�าคัญกับการเรียนรู้ “ลูก” ให้รู้จักที่จะเข้าใจและยอมรับความเป็นตัวตนของลูก
รู้ความสามารถ ความถนัด จุดแข็งจุดอ่อนของลูก ไม่เอาลูกๆ มาเปรียบเทียบกัน
หรือเปรียบเทียบกับเด็กอื่น เรียนรู้ไปพร้อมๆ กับลูกด้วยการท�ากิจกรรมหรือลงมือท�า
สิ่งต่างๆ ไปด้วยกัน เช่น สนุกกับการท�าข้าวหลาม เตรียมจัดงานวันเกิดให้คุณยาย
จะช่วยให้พ่อแม่เข้าใจลูกได้ดีขึ้น ได้เห็นวิธีคิด วิธีการท�างาน การตัดสินใจเลือกของลูก
และยังได้สนุกสนาน เผชิญอุปสรรคไปพร้อมๆ กัน เด็กจะรู้สึกว่าพ่อแม่ร่วมทุกข์
ร่วมสุขไปด้วยกัน
124 125