Page 131 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 131

8. ตั้งเป้าหมายความส�าเร็จของลูก
   หากถามพ่อแม่ที่มีลูกเล็กๆ ว่าตั้งเป้าหมายอะไรให้กับชีวิตลูก ส่วนใหญ่ก็จะตอบ    การท�างานร่วมกันระหว่างบ้านและโรงเรียนควรอยู่บนทัศนะเชิงบวก ไม่ว่าจะเป็น
 ตรงกันว่าต้องการให้ลูกประสบความส�าเร็จในชีวิตและมีความสุข แต่เมื่อพิจารณาถึง  ความเชื่อใจ ให้การสนับสนุนและให้ก�าลังใจซึ่งกันและกัน พ่อแม่ควรให้ความเคารพใน

 สิ่งที่พ่อแม่ให้การอบรมเลี้ยงดูลูก กลับมีความแตกต่างกันอย่างมากมาย บางบ้านเร่งรัด  วิชาชีพครู เคารพในวิธีการท�างานของครู  หากสงสัย ข้องใจ หรือไม่พอใจ ควรไต่ถาม
 การอ่านเขียนเรียนเร็ว บางบ้านปล่อยให้อยู่กับแท็บเล็ต สมาร์ตโฟน บางบ้านให้ลูก    เพื่อท�าความเข้าใจให้ตรงกัน ไม่ควรเก็บความขุ่นข้องใจเพราะจะกระทบต่อสัมพันธภาพ
 มีโปรแกรมเสริมมากมายจนเรียกว่า overprogrammed บางบ้านมีกิจกรรมของ  ที่ดี ซึ่งไม่เป็นผลดีต่อการพัฒนาลูก อีกทั้งการที่พ่อแม่บ่นว่าลับหลังครูเมื่ออยู่ต่อหน้าลูก
 ครอบครัวที่ท�าร่วมกัน เช่น ไปท�าขนมบ้านคุณย่า ช่วยคุณแม่ซักผ้า ช่วยคุณพ่อล้างรถ   จะท�าให้ลูกเกิดความสับสน กังวลใจ เพราะส่วนใหญ่เด็กจะรักทั้งพ่อแม่และครู

 เมื่อเป็นเช่นนี้ เป้าหมายปลายทางที่ได้รับจึงให้ผลที่แตกต่างกันอย่างแน่นอน    เมื่อพ่อแม่และครูมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน ทั้งสองฝ่ายจะประสานมือ ประสานใจ
   ลองทบทวนดูดีกว่าว่า เป้าหมายปลายทางที่ตั้งไว้ หรือเป้าหมายหลักนั้นเป็น   เป็นหนึ่งในการพัฒนาลูกและศิษย์ไปในทิศทางเดียวกัน พ่อแม่และครูจะมีความสุข
 เป้าหมายที่มีคุณค่าและมีความหมายต่อชีวิตลูกอย่างยั่งยืนหรือไม่ คิดต่อให้ชัดว่าอะไร  ความเบิกบานใจที่ได้เห็นความก้าวหน้าของคนที่เรารักเติบโตอย่างงดงาม
 ที่จะบอกถึงความส�าเร็จในชีวิตของลูกได้ และความสุขในชีวิตคืออะไร ที่สุดแล้ว

 ลูกจะสามารถด�ารงชีวิตได้อย่างมีคุณค่าต่อตนเอง ต่อผู้อื่น รวมถึงต่อธรรมชาติ
 และสิ่งแวดล้อมได้หรือไม่ เพราะทัศนะต่อการด�ารงชีวิตจะมีผลต่อการเลี้ยงดูลูก
 และการเลี้ยงดูลูกจะเป็นตัวหล่อหลอมทั้งความคิดและจิตใจของลูก
   เมื่อเป้าหมายปลายทางหรือเป้าหมายหลักชัดเจนแล้ว ต้องมีเป้าหมายระยะสั้น

 และกระบวนการย่อยที่รองรับและสอดคล้องกับเป้าหมายหลัก เป้าหมายต้องอยู่ในใจ
 เสมอ ให้หมั่นตรวจสอบสิ่งที่ท�ากับผลที่ลูกได้รับอยู่เสมอว่าหลุดเป้าหมายไปหรือไม่
 ตอบสนองความต้องการ ความพร้อม และธรรมชาติของลูกหรือไม่ แต่อย่างไรก็ดี
 เป้าหมายก็ต้องมีความยืดหยุ่นให้พอเหมาะพอดี อย่าตายตัวเกาะติดกับความคิดเดิม

 อย่างเดียว ต้องปรับให้เหมาะกับลูกและสภาพการณ์ที่เป็นจริงในปัจจุบันด้วย


      9.  ท�างานร่วมกับครู
   เมื่อลูกเข้าโรงเรียนก็ไม่ได้หมายความว่าภาระการฝึกฝน อบรมเลี้ยงดูตกไปของครู

 และโรงเรียน เพราะบ้านยังมีอิทธิพลอย่างมากต่อลูก ให้ถือว่าบ้านและโรงเรียนเป็น
 หุ้นส่วนการพัฒนาลูกร่วมกัน  แต่เนื่องจากความเชื่อ ทัศนคติ และประสบการณ์
 ของครูและพ่อแม่แต่ละคนก็แตกต่างกัน จึงต้องหมั่นพูดคุยกันเพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะ
 ระหว่างกัน  เพื่อให้มีเป้าหมายที่ตรงกัน และมีวิธีการอบรมเลี้ยงดูไปในทิศทางเดียวกัน

 ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งกันซึ่งจะเป็นผลในทางลบต่อลูก












 130                                                                                                         131
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136