Page 129 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 129

5. เป็นต้นแบบพฤติกรรมที่พึงประสงค์    7. ให้รับผิดชอบงานบ้าน
   เด็กเรียนรู้ได้ดีจากการเลียนแบบ และแบบอย่างที่เด็กเลียนแบบมากที่สุดคือ     การมอบหมายงานบ้านเล็กๆ น้อยๆ ให้ลูกท�า จะท�าให้ลูกเป็นคนรักการท�างาน
 พ่อแม่ พฤติกรรมของพ่อแม่อยู่ในสายตาของเด็กตลอดเวลา ดังนั้น พฤติกรรมใดที่  มีทักษะในการท�างาน ขยัน กระตือรือร้น รู้จักวางแผนและลงมือท�า มีความรับผิดชอบ

 ต้องการให้เกิดกับลูกต้องเริ่มที่พ่อแม่ก่อน หรืออย่างน้อยก็เริ่มไปพร้อมๆ กับลูก   และมีน�้าใจฯลฯ นั่นคือลูกได้พัฒนาทักษะสมอง EF ไปพร้อมกันหลายๆ ด้าน เพราะ
 ดังค�ากล่าวที่ว่า “ลูกท�าให้พ่อแม่มีนิสัยที่ดีขึ้น” เช่น อยากให้ลูกตื่นแต่เช้า พ่อแม่   งานบ้านเป็นการเรียนรู้จากการลงมือท�า (learning by doing)
 ก็ต้องตื่นแต่เช้าด้วย อยากให้ลูกกินผัก แม้พ่อจะไม่ชอบกิน ก็ต้องกินผักไปพร้อมกับ    การรับผิดชอบงานบ้าน ยังมีความส�าคัญอีกด้านหนึ่งที่เราไม่อาจมองข้ามไป คือ
 ลูก ดังนั้น หากต้องการให้ลูกมีการพัฒนาทักษะสมอง EF ที่ดี พ่อแม่ต้องพยายาม   การรับรู้ถึง “ความเป็นครอบครัวเดียวกัน” นั่นคือ การใช้เวลาด้วยกัน ความรับผิดชอบ

 พัฒนาตนให้มีองค์ประกอบของ EF ทั้ง 9 ด้านไปพร้อมๆ กับลูกด้วย เช่น ถ้าต้องการ  บ้านของเรา การท�างานบ้านด้วยกัน กุลีกุจอช่วยเหลือกันโดยไม่ต้องเอ่ยปาก การ
 ให้ลูกมีทักษะด้านควบคุมอารมณ์ พ่อแม่ก็ต้องเป็นต้นแบบในการควบคุมอารมณ์ด้วย  สานสัมพันธ์ด้วยการร่วมทุกข์ร่วมสุขกับคนในครอบครัว การท�างานบ้านจึงเป็นเครื่องมือ
 เช่นกัน       ในการสร้างความรักความห่วงใยในครอบครัว สิ่งเหล่านี้จะท�าให้เด็กมีจิตใจที่หนักแน่น
               พร้อมเผชิญปัญหาและอุปสรรค มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ เพราะมีบ้านเป็นฐานที่มั่นทางใจ

   6. ให้โอกาสลูกได้เรียนรู้ และเผชิญปัญหา  รู้สึกมีคนในครอบครัวที่พร้อมจะให้ก�าลังใจ ให้อภัย และยินดีเมื่อประสบความส�าเร็จ
   การเรียนรู้ของลูกนอกจากจะเรียนรู้จากการเลียนแบบดังได้กล่าวไว้ในข้อ 5 แล้ว   เด็กเหล่านี้จะเติบโตอย่างมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว และขยายความรักความผูกพัน
 การเรียนรู้ของเด็กยังเกิดจากการได้รับประสบการณ์ตรง จากการได้ฟัง ได้เห็น  ได้ดม   สู่ครอบครัวที่ใหญ่ขึ้น คือ สังคมและประเทศชาติ
 ได้ลิ้มรส ได้สัมผัส ได้ลงมือท�าสิ่งต่างๆ และเด็กนั้นเรียนรู้อยู่ตลอดเวลาการเรียนรู้

 ที่ดี จึงควรให้โอกาสเด็กได้หยิบจับและลงมือท�า เริ่มจากกิจวัตรประจ�าวันของตนเอง
 การช่วยงานบ้าน การมีน�้าใจช่วยเหลือผู้อื่น การเล่น และท�ากิจกรรมที่สนุกสนาน
   เมื่อลงมือท�าย่อมเกิดการเรียนรู้และเผชิญกับปัญหาในชีวิตประจ�าวัน ลูกจะ
 ได้รับโอกาสในการฝึกทักษะการลงมือท�าและแก้ปัญหาด้วยตัวเอง หากติดขัด

 ก็ได้รับการชี้แนะอย่างเหมาะสม ยิ่งท�ามากก็ยิ่งท�าให้เกิดการพัฒนาทักษะสมอง EF
 ในหลายด้านด้วยกัน หรืออาจจะเรียกว่าได้ฝึกทักษะครบทุกองค์ประกอบก็ว่าได้
 เช่น ด้านจดจ่อใส่ใจ ยืดหยุ่นความคิด ยั้งคิดไตร่ตรอง ริเริ่มลงมือท�า เป็นต้น และ
 จะน่าเสียดายเพียงใดถ้าพ่อแม่ไม่ปล่อยให้ลูกได้ท�าอะไรด้วยตัวเอง เพราะกลัวลูก

 ท�าไม่ได้ท�าไม่ดี ใจร้อนด่วนท�าให้ลูกเสียเอง หรือสุขใจที่ได้ท�าให้ลูกเพราะเห็นว่า
 ลูกยังเล็ก ดังนั้นเมื่อลูกประสบปัญหาที่พอรับมือได้ อย่ายื่นมือเข้าไปช่วยเร็วเกินไป
 ปล่อยให้ลูกได้เผชิญปัญหาและหาทางแก้ด้วยตนเอง การให้ลูกได้เผชิญปัญหานั้น
 แม้ลูกจะรู้สึกกดดันบ้าง เครียดบ้าง ก็เหมือนเป็นการให้วัคซีนลูกที่จะเติบโตอย่าง

 แข็งแรง และให้โอกาสลูกได้พบกับความสุขจากความส�าเร็จที่เกิดจากสติปัญญา
 และความเพียรพยายามของตัวเอง










 128                                                                                                         129
   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134