Page 77 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 77

บันได 7 ขั้นสู่ความส�าเร็จในชีวิต

               บันไดขั้นที่ 3 สร้างตัวตน (self) ตัวตนจะเป็น
   แม้ว่า Executive Functions หรือ EF จะเป็นความสามารถของสมองที่ดี น�าไปสู่จิตใจ  ประธานของประโยคนับจากนี้ไป ประมาณปลายขวบปีที่ 3
 ที่ดีและสุขภาพจิตที่ดี อย่างไรก็ตาม ก่อนที่เด็กจะพัฒนา EF คืออายุประมาณ 3-4 ขวบ    เด็กเล็กมีแม่ที่สมบูรณ์แล้ว และมีสายสัมพันธ์ที่แข็งแรง
 เด็กต้องมีสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า “แม่” ก่อน หลังจากนั้น เด็กควรเข้าสู่ระบบการศึกษาสมัยใหม่  เมื่อมีแม่มีสายสัมพันธ์ เด็กเล็กจึงสร้างตัวตนขึ้นมาเป็น

 ที่มุ่งเน้นการแก้ปัญหาและคิดวิเคราะห์มากกว่าการท่องจ�าและการสอบ  หน่วยชีวิตอีกหน่วยหนึ่ง และพร้อมจะแยกตัว (separation)
   บันได 7 ขั้นนี้ จะท�าให้เห็นความเชื่อมโยงทั้งหมด
               ให้เป็นปัจเจกบุคคล (individual) จึงมีค�ากล่าวว่า “ความ
               เป็นมนุษย์สร้างเสร็จเมื่อ 3 ขวบ” และ “กว่าจะถึงอนุบาล
               ก็สายเสียแล้ว” ด้วยทารกกลายเป็นบุคคลจริงๆ แล้ว



 บันไดขั้นที่ 1 สร้างแม่ ทารกเกิดมายังไม่มีแม่ในทันที แม่ที่เลี้ยงลูก
 ด้วยตนเองมากที่สุด ตอบสนองความต้องการในขวบปีแรกอย่างดีที่สุด จึง
 จะท�าให้ทารกสร้างสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า “แม่” ทารกเริ่มรับรู้ว่า โลกนี้น่า   บันไดขั้นที่ 4 มีเซลฟ์เอสตีม (self-esteem) คือพลังที่เด็ก
 ไว้วางใจเพราะมีสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่าแม่เมื่ออายุราว 6 เดือน แม่คือชีวิตที่  Self-esteem  คนหนึ่งจะใช้ในการพัฒนาไปข้างหน้า เซลฟ์เอสตีม หมายถึง การนับถือ

 ประกอบด้วยเต้านม น�้านม ทรวงอก ท่อนแขน เสียงหัวใจ เสียงร้องเพลง   ตัวเอง มีความรัก เคารพ มั่นใจ และภูมิใจในตนเอง ในอีกความหมาย
 และใบหน้าที่อ่อนโยน ใจดี มีเมตตา ความเป็นแม่จะชัดเจนขึ้นทุกวัน  หนึ่ง เซลฟ์เอสตีมหมายถึงความสามารถที่คนๆ หนึ่งจะนิยามตนเอง
                                                 รู้ว่าตนเองสามารถก�าหนดหรือลิขิตตนเองได้ ตัวอย่างของเซลฟ์เอสตีม
                      EF                         ที่ดีคือโมเดลขั้นบันได ตอนที่เด็กทารกปีนบันได เขามองเป้าหมาย

                                                 เพียงขั้นต่อไปมิได้มองเป้าหมายที่ชั้นสอง เมื่อทารกปีนได้หนึ่งขั้นบันได
                                                 เขาจะดีใจมาก มีความสุขที่ตนเองท�าได้ แล้วปีนต่อไป ท�าให้เกิดเซลฟ์
 บันไดขั้นที่ 2 สร้างสายสัมพันธ์  (attachment) ทารกสร้างสายสัมพันธ์กับ  เอสตีม และปีนต่อไปทีละขั้นๆ จนกระทั่งถึงชั้นสอง เด็กๆ พัฒนาตนเอง
 แม่ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ และตั้งแต่แรกเกิด  เราจะเห็นปรากฏการณ์ที่เรียกว่าสายสัมพันธ์   ด้วยเซลฟ์เอสตีม ดังนั้นพ่อแม่มีหน้าที่ก�าหนดกติกาว่า อะไรท�าได้หรือ

 ชัดเจนเมื่ออายุประมาณ 12 เดือน คือปลายขวบปีที่ 1 เมื่อทารกเริ่มตั้งไข่แล้วเดิน   อะไรท�าไม่ได้อย่างชัดเจน เพื่อให้เด็กเรียนรู้ว่าสิ่งใดสมควร สิ่งใด
 จากแม่ไป ในตอนแรกทารกจะเดินไปเพียง 3-5 ก้าวแล้วจะหันมามองแม่ เพื่อให้มั่นใจ  ไม่สมควร สิ่งใดเป็นอันตราย และสิ่งใดเป็นเรื่องท้าทายควรค่าแก่
 ว่าแม่มีอยู่จริง มิได้หายไปไหน เมื่อมั่นใจแล้วจึงเดินต่อไป วันเวลาผ่านไป ทารก   การเรียนรู้และพัฒนา พ่อแม่ที่ชาญฉลาดจะส่งเสริมเซลฟ์เอสตีมด้วย
 กลายเป็นเด็กวัยรุ่น เขาจะไปห่างจากเรามากขึ้นทุกวันและหันมาดูแม่น้อยลง   ค�าชมมากกว่าค�าต�าหนิ รักษาสัดส่วนของการให้รางวัลมากกว่าค�าบ่น

 ทุกวัน แต่ที่คงอยู่คือสายสัมพันธ์ เป็นสายใยที่มองไม่เห็น เชื่อมลูกกับแม่และพ่อไว้  ในแต่ละวัน การศึกษาที่ดีควรส่งเสริมให้นักเรียนได้มีเซลฟ์เอสตีม
 อย่างแข็งแรง ทอดยาวได้ไกลแสนไกล ตลอดกาลนาน แม้วันที่พ่อแม่จากไปแล้ว   มีความรักและภูมิใจในความสามารถของตนเองแล้วพัฒนาต่อไป
 สายสัมพันธ์ก็ยังคงอยู่ เขายังคงมีพ่อแม่ในใจเสมือนหนึ่งสามก้าวแรกที่หันกลับมาดู










 76                                                                                                           77
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82