Page 80 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 80
สถานการณ์ที่จะส่งเสริมทักษะสมอง EF
กระบวนการสร้างปลอกหุ้มประสาทขาออก (Myelination)
การสร้างปลอกหุ้มประสาทหรือไมอีลินเกิดขึ้นเพื่อให้กระแสประสาทวิ่งได้เร็วขึ้น ผศ.ดร. ปนัดดา ธนเศรษฐกร ได้เคยบรรยายไว้ว่า ทักษะสมอง EF จะเกิดขึ้น
กว่าเดิมเป็นพันๆ เท่า การพัฒนากระบวนการนี้เกิดจากการท�างาน การฝึกแก้ปัญหา เมื่อเด็กต้องพบกับ 6 สถานการณ์ ได้แก่ สถานการณ์ที่ต้องวางแผน ต้องตัดสินใจ ต้องแก้ไข
จากการลงมือท�า ลงมือแก้ปัญหาเป็นประจ�าจนเกิดเป็นความช�านาญ เป็นทักษะ ปัญหา ต้องใช้วิธีการใหม่ ต้องใช้ทักษะเฉพาะทาง ต้องใช้ความมานะ อดทน มุ่งมั่น
ดังนั้นการเรียนในชั้นประถมศึกษาทั้ง 6 ปี ครูควรท�าให้เด็กได้เผชิญกับ 6 สถานการณ์นี้
สมองส่วนอารมณ์ (Limbic) โดดเด่นในช่วงวัยรุ่น ทุกวัน ทักษะสมอง EF จึงจะพัฒนาได้เร็ว ในทางตรงกันข้าม ถ้าเด็กคนใดผ่านชั้นประถม
ในช่วงวัย 12-15 ปี เด็กจะเข้าสู่ช่วงวัยรุ่น ซึ่งสมองส่วนอารมณ์จะโดดเด่นในเรื่อง โดยไม่ได้เผชิญ 6 สถานการณ์นี้เลย ก็อาจจะไม่มีฐานในการพัฒนาตัวเองต่อไป
อารมณ์ที่รุนแรง เด็กจึงใช้อารมณ์ตัวเองเป็นหลัก และไม่ฟังพ่อแม่ แต่หากได้เตรียม
สมองส่วน EF ไว้คอยก�ากับควบคุม ก็จะพอช่วยลดความรุนแรงได้ สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมทักษะสมอง EF
ความรู้เกี่ยวกับเรื่องสมองเหล่านี้บอกเราว่าต้องรีบท�างานกับเด็กในวัยนี้ จะปล่อย
ให้ผ่านไปโดยไม่ท�าอะไรเลยไม่ได้ ในเด็กช่วง 7 ปีแรกของชีวิต สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมทักษะสมอง EF มี 3 ด้านคือ
สภาพแวดล้อมในบ้าน สภาพแวดล้อมนอกบ้าน และสภาพแวดล้อมในโรงเรียน
วัยขยันขันแข็ง (Industry Stage) สภาพแวดล้อมในบ้านและสภาพแวดล้อมนอกบ้านเป็นสภาพแวดล้อมที่มีพ่อแม่
ส่วนสภาพแวดล้อมในโรงเรียนมีครู
เด็กวัยประถม อยู่ในช่วงระยะที่เรียกว่า industry ซึ่งอยู่ที่บันไดขั้นที่ 4 ตามทฤษฎี
พัฒนาการของ Erick Erikson ค�าว่า industry จึงเป็นค�าส�าคัญของเด็กวัยนี้ จะเห็นว่าในช่วง 1) สภาพแวดล้อมในบ้าน
วัยนี้พอตื่นมาตอนเช้าก็มีเป้าหมายเพื่อ industry อยากเจอมนุษย์คนอื่น ต้องไปแข่งขัน สภาพแวดล้อมที่จะท�าให้เกิดทักษะสมอง EF ได้ดีในบ้าน ควรผ่านกิจกรรม
(compete) กับเพื่อนกับคนอื่น ต้องหาทางประนีประนอม (compromise) และร่วมมือ การเล่นต่างๆ นานา เช่น การเล่นบทบาทสมมติ การเล่นกระดาษ ฉีก ชุบน�้า ตัดปะ ปั้น
(coordinate) ให้ได้ เรียกกระบวนการนี้ว่า 3C เด็กวัยประถมมักจะทะเลาะกัน ตีกัน การเล่นบล็อกไม้ หรือเล่นอย่างอิสระ พ่อแม่นั่งเล่นที่พื้น เล่นด้วยกันกับลูก การเล่น
แต่แรงผลักทางจิตวิทยาจะบังคับให้เด็กหาทางลงกันจนได้ ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ในบ้านนั้น อุปสรรคส�าคัญของพ่อแม่คือโทรศัพท์มือถือและแท็บเล็ต ควรเอาออกไปขณะ
เล่นกับลูก พ่อแม่ควรถามตัวเองว่า เล่นบทบาทสมมติกับลูกมากน้อยแค่ไหน ท�างานศิลปะ
เซลฟ์เอสตีม เป็นแรงผลักส�าคัญ ด้วยกระดาษกับลูกมากน้อยแค่ไหน เล่นบล็อกไม้บนพื้นกับลูกแค่ไหน
แรงผลักส�าคัญของเด็กคือ เซลฟ์เอสตีม ความหมายง่ายๆ คือ “ท�าได้ ท�าต่อ”
ดังนั้น สิ่งที่ผู้ใหญ่ควรท�าได้ง่ายๆ คือ สร้างสิ่งแวดล้อมให้เด็กประถมรู้สึกว่า “ท�าได้ 2) สภาพแวดล้อมนอกบ้าน
ท�าต่อ” เพราะหากเด็กรู้สึกว่าท�าไม่ได้ก็จะไม่อยากท�าต่อ จากการเล่นในบ้าน ให้ลูกออกมาเล่นหน้าบ้าน ให้ได้เล่นดิน ทราย น�้าจริงๆ เล่น
เซลฟ์เอสตีมจะถูกผลักเข้ามาในตัวเด็กตั้งแต่ตอนเริ่มคลาน เริ่มขึ้นบันได ดังนั้น ในสนาม หรือสนามเด็กเล่น ให้ลูกเล่นกับกองดิน กองทราย
ระบบการศึกษาที่สอบตกแล้วไปต่อไม่ได้ เขียนไม่ได้ท่องไม่ได้แปลว่าตก จะเป็นเรื่อง เมื่ออยู่ในสนาม ให้เด็กได้ปีนป่ายต้นไม้บ้าง หรือ climbing net ซึ่งระหว่างปีนป่าย
ที่น่าปวดหัวมาก แต่ระบบการศึกษาที่เปิดกว้างกว่า จะเปิดโอกาสให้เด็กทุกคนรวมทั้ง นอกจากได้พัฒนาทักษะสมอง EF แล้ว เด็กยังได้พัฒนาด้านการท�างานประสานสัมพันธ์
เด็กพิเศษด้วย ได้มีโอกาส “ท�าได้ ท�าต่อ” ตามความเร็วของเด็กแต่ละคน ระหว่างมือและตา (hand-eye coordination) อย่างดีที่สุด เด็กที่ปีน climbing net
จะได้พัฒนาทักษะสมอง EF สูง เพราะต้องทั้งมุ่งมั่น ควบคุมอารมณ์ให้ไม่กลัว ไม่วอกแวก
และถ้ายิ่งปีนสูง ความเสี่ยงก็ยิ่งสูง จึงต้องวางแผนมาก
80 81