Page 78 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 78

การควบคุมตนเอง                    บันไดขั้นที่ 5 ควบคุมตนเอง เมื่อมีเซลฟ์เอสตีมพุ่งไปข้างหน้า                       ทักษะสมอง EF ที่ดีเป็นอย่างไร
                 self-control     focus          มีสายสัมพันธ์ที่เชื่อมไว้กับพ่อแม่คอยดึงรั้งมิให้ออกนอกลู่นอกทาง                    เด็กที่มีทักษะสมอง EF ที่ดีจะดูแลตัวเองได้ ช่วยเหลือตนเองได้ เอาตัวรอดได้
                                                 เด็กควรพัฒนาความสามารถที่เรียกว่าการควบคุมตนเอง (self-control)
                                                 ความสามารถควบคุมตนเองประกอบด้วยความสามารถที่จะตั้งใจมั่น                          และมีอนาคต
                     not distract                (focus) ไม่วอกแวก (not distract) และประวิงเวลาที่จะมีความสุข                        •  ดูแลตนเองได้ ช่วยตนเองได้ ดูแล 4 พื้นที่ได้

                                                 (delayed gratification) ซึ่งก็คือองค์ประกอบแรกของ EF ความ                             1)  เด็กสามารถดูแลร่างกายตัวเองได้ เช่น อาบน�้าเอง แต่งตัวเอง
                                  delayed        สามารถในการควบคุมตนเองจะเป็นเครื่องมือส�าคัญที่เด็กใช้ประคอง                          2)  ดูแลรอบร่างกายตัวเอง เช่น เก็บของเล่น จัดตารางสอน กินข้าวเสร็จ
                                gratification    และพัฒนาชีวิตให้ไปต่อไป ไม่หันเหเข้าสู่อบายมุขโดยง่าย สามารถ                            เก็บจาน ล้างจานเอง ซักผ้าเก็บผ้าเอง ช่วยท�างานบ้าน


                                                 ท�าภารกิจที่ยาก น่าเบื่อ และใช้เวลานานได้ส�าเร็จ                                      3)  ดูแลบ้าน ท�าให้คนอื่นๆ ในครอบครัว เช่น กวาดบ้าน ถูบ้าน ล้างจาน
                                                                                                                                       4)  ดูแลนอกบ้าน ท�าตามกฎกติกาสังคม เช่น รู้จักเข้าคิว ไม่ส่งเสียงดังรบกวน
                                                                                                                                         ผู้อื่นในร้านอาหาร
                                                                                                                                     •  เอาตัวรอดได้ ไม่เข้าไปข้องเกี่ยวกับอบายมุขและสถานการณ์เสี่ยงต่างๆ
              บันไดขั้นที่ 6 Executive Functions หรือ EF คือ                                                                           ทั้งยาเสพติด เพศสัมพันธ์ ความเร็ว ความรุนแรง และการพนัน
              ความสามารถระดับสูงของสมองที่ใช้ควบคุมความคิด                                                                           •  มีอนาคต รู้จักมองไปข้างหน้า มีแรงจูงใจ มีความมุ่งมั่น มีความหลงใหล (passion)
              อารมณ์และการกระท�าเพื่อไปให้ถึงเป้าหมาย ค�าส�าคัญคือ                                                                     รู้จักวางแผน ลงมือท�า รับผิดรับชอบ ยืดหยุ่น ปรับแผน ปรับเป้าหมายได้ ไม่โทษ

              ค�าว่า “เป้าหมาย” เด็กที่มี EF ดี มีความสามารถก�าหนด                                                                     ตัวเองและผู้อื่น
              เป้าหมายที่มีระดับความท้าทายเหมาะสมกับพัฒนาการ
              ของตนเอง เพื่อให้ท�าได้แล้วไปต่อไป
                                                                                                                                   เพราะอะไรจึงต้องรู้เรื่องทักษะสมอง EF



                                                                                                                                     ความรู้เกี่ยวกับสมองที่บอกว่า prefrontal cortex หรือสมองส่วนหน้าของมนุษย์
                                                                                       st
                                                 บันไดขั้นที่ 7 ทักษะศตวรรษที่ 21 (21  Century Skills)
                        Learning                                                                                                   นั้นยังพัฒนาและยังไม่นิ่งจนกว่าจะอายุ 20 ปี ท�าให้ผู้ใหญ่ที่ใส่ใจเรื่องการพัฒนาเด็ก
                         skills                  ประกอบด้วยทักษะเรียนรู้ (learning skills) ทักษะชีวิต (life skills)                เกิดความหวังที่จะน�าความรู้เกี่ยวกับทักษะสมอง EF มาช่วยพัฒนาเด็กในวัยประถมของเรา
                                                 และทักษะไอที (IT skills) ซึ่งควรเป็นเป้าประสงค์ของระบบการศึกษา                      เมื่อ prefrontal cortex ไม่นิ่ง หมายความว่า อารมณ์ (emotional) การตอบสนอง

                                                 สมัยใหม่ที่ไม่มุ่งเน้นการมอบความรู้ การท่องจ�า และการสอบตาม                       (response) การจดจ่อ (attention) พฤติกรรม (behavior) และการตัดสินใจ

                          21 st                  มาตรฐานที่แข็งกระด้างตายตัว แต่เป็นระบบการศึกษาที่มุ่งมอบทักษะ                    (judgement) ก็ยังไม่นิ่งเช่นกัน
                   Century Skills                ส�าคัญ 3 ประการ อย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ เพื่อให้เด็กคนหนึ่ง
                                                 มีความสามารถที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต จากทุกสถานที่                           กระบวนการตัดแต่งวงจรประสาท (Synaptic Pruning)
                                                 ด้วยเครื่องมือไอทีสมัยใหม่ และเพื่อพัฒนาไปตามทิศทางและเป้าหมาย                      ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการตัดแต่งวงจรประสาท ยังบอกอีกด้วยว่า วงจรประสาท

                                                 ที่ตนเองตั้งไว้ มีความสามารถที่จะปรับเป้าหมาย ปรับแผน ปรับวิธี                    ส่วนใดที่ไม่ค่อยได้ใช้ ระหว่างอายุ 9-15 ปีจะเริ่มถูกตัดทิ้ง บางต�ารา 12 ปี แต่ส่วนใหญ่

            Life skills            IT skills     ปฏิบัติ มีความรับผิดชอบ (accountability) ในการตัดสินใจของตนเอง                    บอกตรงกันว่ากระบวนการนี้จะจบและมีเส้นตายเมื่อเด็กอายุ 15 ปี
                                                 ประเมินผล คิดวิเคราะห์ และปรับแผน เป็นวงจรชีวิตที่ไม่สิ้นสุด





            78                                                                                                                                                                                                                    79
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83