Page 83 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 83

ดนตรี กีฬา ศิลปะ
   ส่วนใหญ่พ่อแม่ที่มีฐานะดีจะสามารถส่งเสริมให้ลูกได้เรียนดนตรี กีฬา ศิลปะ ควรให้
 เด็กได้ฝึกฝนดนตรี กีฬา ศิลปะ ให้อยู่ในระดับมากกว่า “ไปวัดไปวา” จะท�าให้เด็กมี
 เซลฟ์เอสตีมที่ดีมาก และสามารถสร้างทักษะสมอง EF ได้ด้วย เพราะกว่าจะพัฒนาไป     ด้านร่างกาย กล้ามเนื้อใหญ่ ต้นขา ต้นแขน
 เกินกว่าระดับ “ไปวัดไปวาได้” ต้องผ่านสันดอนใหญ่ เช่น “เบื่อมาก” ต้องท�าให้เด็ก   ทรงพลัง กล้ามเนื้อนิ้วมือทั้งสิบก็ใช้การได้ดี      ด้านจิตใจ การเอา

 ผ่านจุดที่ต้องข้ามไปให้ได้ ให้เด็กได้พบกับ 6 สถานการณ์ที่ท�าให้เกิดทักษะสมอง EF  หยิบใช้พู่กันได้ เด็กที่ได้เล่นดินเล่นทราย ได้ปีน  ตนเองเป็นศูนย์กลาง
   ความหมายของค�าว่า “เพื่อสร้างทักษะสมอง EF” คือ ในขณะที่ฝึกซ้อม หรือ   ป่าย ได้ขว้างบอลกับพ่อแม่ ได้ช่วยแม่ตากผ้า   (self-centered) ลดลง
 ลงมือท�า เด็กต้อง “ควบคุมความคิด การกระท�า อารมณ์ เพื่อไปให้ถึงเป้าหมาย” อีกทั้ง  หนีบผ้า การประสานสัมพันธ์ระหว่างมือและตา

 ดนตรี กีฬา ศิลปะนี้ เมื่อเด็กโตเป็นวัยรุ่น จะเป็นเครื่องมือคลายเครียดที่ดีกว่าการ   จะดี โดยเฉพาะจากการตากผ้า หนีบผ้า
 ไปดื่มกิน เพียงหยิบพู่กันที่บ้านมาระบายสีเพื่อระบายอารมณ์ ดีดกีตาร์ ตีกลอง
 นึกถึงหน้าเพื่อนที่ท�าให้โกรธ ก็ช่วยให้หายเครียดได้แล้ว
   แต่ปัญหาคือเด็กจ�านวนมากไม่มีดนตรี กีฬา ศิลปะ จึงไม่มีเครื่องป้องกัน ไม่มี
 ทางออก เมื่อเครียดขึ้นมาก็พุ่งเข้าหาสิ่งที่เป็นพิษภัยกับตัวเอง
                          ด้านสังคม  เด็กพร้อมแลกเปลี่ยน ต้อง compete, compromise,

 งานบ้าน                coordinate การที่ Erikson เขียนเรื่องพัฒนาการไว้แบบนี้หมายความว่า
   เด็กควรได้รับผิดชอบงานบ้าน ซึ่งเป็น 1 ใน 4 พื้นที่ที่เด็กต้องรับผิดชอบดูแล   เด็กจะต้องไปให้ถึงเป้าหมายคือมีเพื่อน ดังนั้นเมื่อเด็กทะเลาะกัน เด็กจะ

 งานบ้านในวันแรกๆ เป็นงานที่น่าสนุก เด็กเล็กๆ ชอบท�า แต่งานบ้านมักจะกลายเป็น   หาทางดีกันให้ได้ ไม่ยอมทะเลาะกันง่ายๆ ไม่ยอมผูกใจเจ็บง่ายๆ ดังนั้น
 งานน่าเบื่อในภายหลัง ซึ่งเป็นเรื่องที่ดีต่อการฝึก EF มาก เพราะ EF จะพัฒนาต่อไป   นี่คือโอกาสทอง ไม่ใช่จับแยกให้ต่างคนต่างก้มหน้าก้มตาเรียน
 เมื่อเด็กได้พบความยากล�าบากที่น่าเบื่อติดต่อกันเป็นเวลานานแต่สามารถท�าได้
 จนลุล่วง



   3) สภาพแวดล้อมในโรงเรียน               สติปัญญา เข้าใจและเรียนรู้แบบที่เป็นรูปธรรม (concrete) เห็นอะไรก็
   โรงเรียนควรต้องสร้างสภาพแวดล้อมให้เด็กได้พบกับ 6 สถานการณ์ที่จะเอื้อต่อ  เห็นอย่างนั้น ดังนั้นโรงเรียนที่จัดการศึกษาแนวใหม่จึงมีกิจกรรมที่ให้เด็ก
 การพัฒนาทักษะสมอง EF  ไม่ควรมุ่งแต่การเรียน ท่องหนังสือ แล้วสอบเอาคะแนน   ได้ออกจากห้องเรียน ได้ส�ารวจ ได้ลงมือท�า เป็นสิ่งที่เหมาะกับเด็กวัยนี้มาก

 ทั้งนี้เพราะเด็กในวัยประถมนั้นมีคุณสมบัติส�าคัญ ดังนี้   ได้เห็น ได้ส�ารวจ แล้วเขียนบันทึก วาดรูปสิ่งที่เห็นสิ่งที่คิดลงไป จากรูปธรรม
                                        จึงจะพัฒนาต่อไปเป็นนามธรรม (abstract) ที่ดี





                             โรงเรียนควรสร้างสภาพแวดล้อมและกิจกรรมที่เด็กต้องไปลงมือท�าร่วมกันเพื่อลด
                           self-centered ให้เด็กได้ช่วยเหลือกัน ซึ่งการให้เด็กได้เดินทางออกไปส�ารวจนอกโรงเรียน
                           ไปเป็นกลุ่ม กลับมาท�างานร่วมกันเป็นกลุ่ม จะท�าให้ทักษะสมอง EFพัฒนาได้ดี





 82                                                                                                           83
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88