Page 87 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 87
ศตวรรษที่ 21 เด็กควรรู้อะไร
IT Skills
IT skills คือ การรู้จักเสพ รู้จักวิเคราะห์ และรู้จักใช้เครื่องมือ เพื่อให้เด็กอยู่รอดได้ในศตวรรษที่ 21 เด็กควรจะต้องมีและเรียนรู้ 4 เรื่องหลัก ได้แก่ สุขภาพ
ครูที่เป็นโค้ชเก่งๆ จะ guide ให้เด็กรู้จักใช้ประโยชน์จากคอมพิวเตอร์ (health) การเงิน-เศรษฐศาสตร์ (economics) สิ่งแวดล้อม (environment) และประชาสังคม
เช่น เด็กๆ ออกไปเดินป่า สามารถหาค�าตอบได้ว่าแมลงชนิดหนึ่งนั้น พลเมือง (civil society) เพราะ
เดินบนน�้าได้อย่างไร แล้วสามารถโยงไปถึงเรื่องแรงตึงผิวได้ด้วย • สุขภาพ ฝากไว้กับโรงพยาบาลไม่ได้อีกต่อไป เพราะความรู้ด้านการดูแลสุขภาพเปลี่ยนไป
ท�ารายงานเรื่องนี้มาส่งครูได้ ที่ท�าเช่นนี้ได้เพราะมีครูคอยโค้ชให้ บอกให้ และมีมากมายทั้งจริงและไม่จริง ซึ่งเด็กควรมีความรู้เท่าทันและรู้จักที่จะดูแลตัวเอง
ไปค้นคว้าจากคอมพิวเตอร์ นี่คือตัวอย่างของการฝึกให้เด็กมี IT skills • การเงิน ออมอย่างเดียวไม่พอ ค่าของเงินไม่ใช่อยู่ที่การออมเพียงอย่างเดียว เพราะค่าของ
IT Skills และแสดงให้เห็นว่า IT skills ทั้ง 3 ด้านข้างต้นนี้สามารถไปด้วยกันได้ เงินอยู่ที่ระบบการเงินของโลกหรือของประเทศ
ส่วนวิชาต่างๆ ที่ส่วนกลางก�าหนดทั้งหมดสามารถบูรณาการเข้าไปใน • สภาพแวดล้อมที่โหดร้าย ต้องอยู่ให้ได้ และต้องรู้จักดูแลสิ่งแวดล้อมทั้งที่ใกล้ตัวและ
Problem-Based Learning เท่าที่จ�าเป็น ไกลตัว
• ความเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตย รู้สิทธิและหน้าที่ตามระบอบประชาธิปไตย
AAR เคารพความแตกต่าง ท�าอย่างไรจะอยู่ร่วมกันในความแตกต่างโดยไม่ท�าร้ายกัน
AAR (After Action Review) คือการเก็บข้อมูล (save document)
เข้าสู่สมอง ทุกครั้งที่จบ PBL ครูจะชวนเด็กท�า AAR หรือ reflection
(สะท้อน) ค�าถาม AAR ง่ายๆ คือ การเปลี่ยนสภาพแวดล้อมในโรงเรียนเพื่อเสริมทักษะสมอง
1. รู้สึกอย่างไร เด็กจะใช้สมองซีกขวาตอบ EF และทักษะศตวรรษที่ 21 : เปลี่ยนโครงสร้าง
2. วันนี้ได้เรียนรู้อะไร เด็กจะตอบเป็นความรู้ (knowledge)
นี่คือกระบวนการเรียนรู้ (learning) ถ้าต้องการเปลี่ยนสภาพแวดล้อมในโรงเรียนเพื่อให้ระบบการเรียนการสอนกลายเป็น
ค�าอธิบายทางวิทยาศาสตร์บอกว่า การท�า AAR เป็นการเขียน การเรียนแบบสมัยใหม่ วิธีที่ได้ผลคือการใช้โครงสร้างของการพัฒนาคุณภาพแบบ bottom up
ด้วยวาจา แล้ว save เข้าไปในสมอง ท�าให้เกิดการเรียนรู้ขึ้นไปอีก ดังเช่นตัวอย่างของโรงเรียนหลายแห่งซึ่งเข้ากลุ่มกับโรงเรียนข้างเคียง แล้วค่อยๆ สร้างชุมชน
ขั้นหนึ่ง เป็นการ save ความรู้ส�าหรับเด็กคนนั้น (community) ตัวเองจากข้างล่างขึ้นมา
เด็กที่ถูกบอกว่าไอคิวบกพร่องก็เรียนรู้ได้ ถ้าใช้วิธี save ความรู้ ความหมายของการพัฒนาคุณภาพคือ การปรับปรุงทั้ง structure, process และ outcome
แบบ AAR เข้าไปในสมองทุกเย็น พร้อมๆ กัน ซึ่งไม่ว่าโรงเรียนใดๆ ก็สามารถเปลี่ยนได้ ท�าได้
structure คือ โครงสร้าง ทุกโรงเรียนจะมีโครงสร้างสองชนิด หนึ่งคือโครงสร้างการบริหาร
และโครงสร้างทางวัตถุ ซึ่งเป็นสิ่งแวดล้อมชนิดหนึ่ง
86 87