Page 89 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 89
★ โครงสร้างการบริหาร ★ PLC- Professional Learning Community
ผู้อ�านวยการของโรงเรียนนั้นๆ ต้องเป็นผู้น�าในการเปลี่ยนโครงสร้างการบริหาร คือการประชุมครูที่คุยเฉพาะเรื่องเด็กๆ อย่างเดียว ไม่คุยเรื่องอื่น ไม่มีวาระแจ้ง
ตัวอย่างเช่น ถ้ามีครูกลุ่มหนึ่งต้องการพาเด็กออกส�ารวจป่ารอบโรงเรียน ผู้อ�านวยการ เพื่อทราบ ไม่มีวาระรับรองรายงานการประชุม มีแต่การคุยกันว่า PBL ที่ได้ท�าไปนั้นได้
คือผู้อ�านวยความสะดวกให้เกิดงาน ต้องการอะไรให้บอกมา เช่น เงิน หลักประกัน ส่งผลให้ทักษะของเด็กแต่ละคนเปลี่ยนแปลงพัฒนาไปอย่างไร เช่น เด็กคนนี้ยังเก็บตัว
ความปลอดภัยของเด็กๆ แล้วไปเจรจากับชาวบ้าน ถ้าจุดหมายปลายทางคือวัด คนนี้ยังช่างพูดอยู่หรือไม่ ครูจะคุยกันในเรื่อง learning skills, life skills และ IT skills
ผู้อ�านวยการอาจจะเป็นผู้เจรจากับเจ้าอาวาสเปิดทางไว้ให้ สุดท้ายเรื่องใหญ่คือ เรื่อง ของเด็กๆ
ของเวลา ถ้าตารางสอนแน่นมาก ผู้อ�านวยการจะช่วยจัดการให้เกิดการปรับตารางสอน ถ้าคุยแล้วพบว่าเด็กมีความบกพร่อง ครูจะไม่เข้าไปจัดการเด็กตรงๆ และไม่เรียก
ผู้ปกครองมาพบ ครูจะถอยกลับไปแก้ PBL เช่น แก้ไขกระบวนการส�ารวจป่าว่าอาจจะ
★ เปลี่ยน Classroom เป็น Learning Studio ยังมีบางอย่างไม่สมบูรณ์ ท�าให้พฤติกรรมเด็กยังเป็นปัญหา แก้เสร็จแล้วกลับมาคุย
โครงสร้างทางวัตถุ คือ classroom เปลี่ยนเป็น learning studio ซึ่งหลักๆ กันใหม่ คุยเรื่องเด็ก คุยเรื่องทักษะของเด็ก ดูว่าที่ออกแบบไว้บกพร่องตรงไหน ไปแก้
แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ส่วนที่ 1 คือส่วนประชุม ส่วนที่ 2 คือ IT มีคอมพิวเตอร์และ ที่ PBL เพื่อให้ทุกคนถูกแก้หมดทั้งกระบวนการ จะเห็นว่าเป็นกระบวนทัศน์ใหม่ทั้งหมด
Wi-Fi หลังจากประชุมกันเสร็จ สงสัยสิ่งใดสามารถเปิดอินเทอร์เน็ตค้นหาค�าตอบได้ เป็นสิ่งแวดล้อมใหม่ของเด็กๆ สุดท้ายถ้าพบว่า PBL แก้ไม่ได้เพราะอะไรก็ตาม ต้องดู
ส่วนที่ 3 คือ lab ที่จะท�าการทดลอง ส่วนที่ 4 คือ สันทนาการ เช่น มีโต๊ะปิงปอง ที่ structure ข้างบน นั่นคือโครงสร้างไม่เปิดโอกาส ต้องเข้าไปพบและพูดคุยกับ
ให้ด้วย ผู้อ�านวยการ การท�าแบบนี้คือการแก้โครงสร้าง แก้กระบวนการ ซึ่งในที่สุดจะส่งผล
ทั้งหมดนี้จะเอื้อให้ life กับ learning สามารถบูรณาการ integrate ไปด้วยกันได้ มาแก้ที่ตัวเด็ก
โรงเรียนในสังกัด สพฐ. มีทั้ง 4 ส่วนนี้แล้ว แต่ไม่ได้อยู่ในห้องเดียวกัน ส่วนเรื่อง outcome ถ้าต้องการวัดความรู้ก็ต้องวัด เพราะเป็นเครื่องพิสูจน์คุณภาพ
ผู้อ�านวยการที่เข้าใจหลักการจัดสภาพแวดล้อมจะรู้ว่าสภาพแวดล้อมของโรงเรียน มาตรฐานของโรงเรียน แต่ต้องวัด skills ด้วย ควรสร้างเครื่องวัด skills โรงเรียนที่ใส่ใจ
สามารถจะมี 4 ส่วนนี้และกลืนไปกับ life ทั้งหมดได้นั้นต้องขึ้นอยู่กับความใจกล้าของ อาจจะวัดความรู้ด้วยเรียงความ ให้เขียนบรรยาย โดยยังไม่วัดเป็นตัวเลข
ผู้อ�านวยการ ถ้ากล้าตัดสินใจก็จะเกิด free space and free time ขึ้นมา ทุกโรงเรียน
สามารถลุกขึ้นปรับแก้ได้ ท�าการประนีประนอมกับส่วนกลางได้ ไม่ต้องถึงกับปฏิวัติ
ยังมีการเรียนการสอนตามตารางสอน แต่เริ่มรุกคืบเข้ามาในเวลาเรียนระหว่างวันจันทร์ EF คือการควบคุมความคิด การกระท�า และอารมณ์
ถึงศุกร์ เพื่อไปให้ถึงเป้าหมาย
★ Process
กระบวนหลักๆ ที่ต้องเปลี่ยนคือ กระบวนการเรียนรู้ เอาตารางสอนมากาง keyword ของเด็กวัยประถมคือ concrete thinking-รูปธรรม เพราะฉะนั้นที่
ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร สรุปไว้ว่า “EF คือการควบคุมความคิด การกระท�า และอารมณ์
แล้วตัด ก็จะเกิดการรวม class เกิดช่องว่าง โรงเรียนที่ใจกล้าก็จะท�า PBL ได้
เพื่อไปให้ถึงเป้าหมาย” ประโยคนี้เมื่อสวมเข้ามาในการเรียนในชั้นประถมศึกษา โดย
การให้เด็กออกไปส�ารวจนอกโรงเรียน ออกไปเรียนรู้ของจริงอย่างเป็นรูปธรรม ขณะ
ออกส�ารวจ ได้ลงมือท�า เด็กก็จะได้ควบคุมความคิด การกระท�า และอารมณ์ เพื่อไป
ให้ถึงเป้าหมาย แล้วเอางานกลับมาส่งครู นี่คือการฝึกฝนทักษะสมอง EF ของเด็ก
ชั้นประถมศึกษา
88 89