Page 85 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 85
การจัดสภาพแวดล้อมที่พัฒนาทักษะ (skills) ส�าคัญ
ในศตวรรษที่ 21
ทักษะซึ่งเป็นหัวใจที่จ�าเป็นส�าหรับศตวรรษที่ 21 ของเด็กไทยในวัย 7-12 ปี Life Skills
มี 3 ด้าน คือ learning skills, life skills และ IT skills จึงต้องจัดสภาพแวดล้อม ประกอบด้วยการมองไปข้างหน้า (purpose) วางแผน (planning)
ในโรงเรียนที่เอื้อให้เกิดทักษะเหล่านี้ ตัดสินใจ (decision making) ยอมรับผล (accountability) และ Life Skills
หัวใจของสภาพแวดล้อมของเด็กวัย 7-12 ปี ในประเทศไทยเป็นเรื่องใหญ่มาก เพราะ ความยืดหยุ่น (resiliency)
สิ่งแวดล้อมส�าคัญของวัยนี้กลายเป็นโรงเรียน learning skills สามารถจะเชื่อมโยงไปกับ life skills ในโรงเรียน
ประถมได้ตลอดเวลา ตั้งแต่วันจันทร์-ศุกร์ จากการเรียนแบบ PBL
(Problem-Based Learning) โดยการแบ่งกลุ่ม เพราะ PBL
ที่ครูมอบให้เด็กและให้มีผลลัพธ์ มีค�าตอบออกมาส่งครูนั้น ต้องการ
ทักษะ life skills ทั้ง 5 ด้าน
Learning Skills
Learning learning skills สามารถสร้างได้ในเด็กทุกคน แม้แต่ในเด็กพิเศษ ยกตัวอย่างโรงเรียนแห่งหนึ่ง ครูขยันพาเด็กออกเดินป่ามาก ซึ่งการ
Skills learning skills ประกอบด้วย ออกไปนี้ เด็กต้องอาศัยการมองไปข้างหน้า มีการวางแผน เพราะใน 7 วัน
ต้องส่งงาน เด็กต้องวางแผน ต้องตัดสินใจ แบ่งงานกัน ใครเขียนอะไร
1. criticical thinking คิดวิพากษ์เป็น เริ่มจากการตั้งข้อสงสัย ตั้ง จากนั้นก็มีการพูด การเถียงกัน จนถึงสอนอ่านสอนเขียนกันเอง คนที่เคย
ค�าถาม ส�าหรับเด็กในวัยนี้ขอเพียงแค่รู้จักถาม ไม่กลัวที่จะถามก็พอแล้ว อ่านเขียนไม่ได้ก็อ่านเขียนเป็น สุดท้ายมีคนส่งงานไม่ทันต้องยอมรับผล
ยังไม่ต้องไปถึงรู้จักวิจารณ์ จากการกระท�า (accountability) จากการส่งงานไม่ตรงเวลา ครูก็
2. communication รู้จักพูด ช่างซักช่างถาม แสดงความคิดเห็น ตัดคะแนน ทั้งกลุ่มต้องยอมรับผลของการตัดสินใจ
เมื่อสงสัยก็พูดออกมา ไม่กลัว การยืดหยุ่นส�าหรับเด็กประถมเป็นค�ากว้างๆ เช่น เดินไปเจออะไร
3. collaboration การร่วมมือกัน เมื่อพูดสื่อสารกัน เด็กจะรู้ว่ามี ขวางหน้าก็รู้จักเลี้ยว หลีกเลี่ยงได้ ปีนข้ามได้ รู้ว่าถ้าเหนื่อย ถ้าเจ็บก็พักได้
มนุษย์คนอื่นที่พูดไม่เหมือนตน ก็จะเกิดการ compete, compromise พักเป็น แต่ต้องส่งงานให้ทัน
และ coordinate ทันที เพราะทางจิตวิทยาบังคับให้ท�า เด็กจะ collaborate จะเห็นว่าการออกนอกห้องเรียนไปสู่การเรียนแบบกลุ่มในสถานที่จริง
กัน ท�างานส่งคุณครูด้วยกัน life skills จะเกิดขึ้นเองโดยอัตโนมัติ การเรียนแบบ PBL จึงเป็นเสมือน
4. creative thinking ผลจากการถกเถียงในกลุ่มอย่างเสรี จะเกิด ส่วนย่อของชีวิตที่ให้เด็กได้ฝึกทุกวัน นี่คือ life skills ท�าอย่างไรให้เด็ก
creative thinking เสมอ เด็กทุกคนมีความคิดสร้างสรรค์ได้เมื่อท�างาน ตื่นขึ้นมาตอนเช้าแล้วรู้จักมองไปข้างหน้า รู้จักวางแผน ตัดสินใจเป็น
เป็นกลุ่ม เราไม่ควรคาดหวังว่าจู่ๆ จะมีเด็กคนหนึ่งฉลาดมาจากบ้านแล้ว ได้ตัดสินใจแล้วยอมรับผลจากการตัดสินใจนั้น และเมื่อพบอุปสรรค
เกิดความคิดสร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ต้องเกิดจากค�าถามบางอย่าง ก็ยืดหยุ่นได้
จากกลุ่ม จากการแลกเปลี่ยนหรือเถียงกันจนพอใจ
84 85