Page 119 - Executive Functions ตั้งแต่ปฏิสนธิ-3 ปี
P. 119
บทบำทพ่อแม่ในควำมคำดหวัง 4. จัดสภาพแวดล้อมที่มีการพัฒนาสมองลูก โดยพ่อแม่เป็นผู้ให้โอกาส ให้โอกาส
ลูกได้เล่น เล่นกับลูก ลูกได้เล่นกับเด็กอื่น รวมทั้งการให้ลูกเล่นคนเดียวก็ส�าคัญ เพื่อให้
1. ให้ความรัก ความเข้าใจ รับฟังลูก แน่นอนว่าพ่อแม่ย่อมรักลูกอยาก ลูกสามารถมีความสุขได้ด้วยตนเองในขณะที่ไม่มีคนอื่นเล่นด้วย การเล่นของลูกจะน�า
มอบสิ่งที่ดีที่สุดให้ลูก และท�าทุกอย่างให้ลูกในนามของ “ความรัก” แต่อาจ ไปสู่การเผชิญอุปสรรค ปัญหา และการแก้ปัญหาด้วยตัวเอง พ่อแม่ต้องรู้จังหวะว่าควร
ไม่มีความเข้าใจ เข้าถึงอารมณ์ จิตใจ ความต้องการ และพัฒนาการตามวัยลูก เข้าไปช่วยเหลือ สอนลูก หรือปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ การไม่เข้าไปบอกสอน
หลักง่ายๆ ที่พ่อแม่จะเข้าถึงตัวตนของลูกได้คือการรับฟังลูก พยายามเข้าใจ ทุกครั้งที่ลูกเผชิญปัญหา ท�าให้สังเกตและประเมินได้ว่าลูกสามารถจัดการปัญหานั้น
และเรียนรู้เรื่องพัฒนาการของเด็กที่เปลี่ยนแปลงพัฒนาไปตามวัย ได้หรือไม่ และที่ส�าคัญลูกอาจใช้วิธีที่ไม่เหมือนพ่อแม่ ต้องปล่อยให้ลูกคิดท�าด้วย
ตัวเอง ซึ่งเป็นการพัฒนาทักษะสมอง EF ที่ดี
2. มีเวลาคุณภาพให้ลูก พ่อหรือแม่คนใดคนหนึ่งควรต้องมีเวลาให้ลูก
และต้องเป็น “เวลาคุณภาพ” ที่อย่างน้อยในวันหนึ่งๆ พ่อหรือแม่ได้มีโอกาส 5. สร้างบรรยากาศและสัมพันธภาพที่ดีในบ้าน ด้วยวิธีการเบี่ยงเบนอารมณ์
สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูก พูดคุย เล่นกับลูก ได้มีกิจวัตรร่วมกัน เช่น ชื่นชมลูก มีความสุข โดยเฉพาะกับการรับมือกับลูกวัย 2-3 ปี ซึ่งก�าลังพัฒนาความเป็น
ร่วมวงกินอาหาร (ให้ลูกกินเองบ้าง สลับป้อนบ้าง) อ่านหนังสือ เล่านิทาน ตัวของตัวเอง ท�าให้พ่อแม่มองว่าลูกดื้อ แล้วท�าให้พ่อแม่มักควบคุมอารมณ์ไม่ค่อยได้
พาลูกเข้านอน เป็นต้น เป็นกิจกรรมที่นอกจากจะสร้างความรักความผูกพัน ซึ่งเป็นเรื่องที่ขัดแย้งกับการสอนลูกให้รู้จักการควบคุมอารมณ์ เพราะฉะนั้นเมื่อเด็ก
ในครอบครัวแล้ว ยังช่วยพัฒนาทักษะสมอง EF ของลูกด้วย ไม่ใช่มีเวลา แสดงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ พ่อแม่ต้องรู้จักเบี่ยงเบน พูดกันดีๆ มีการเปลี่ยนอารมณ์
อยู่บ้านกับลูกทั้งวัน แต่ไม่ได้มีกิจกรรมหรือปฏิสัมพันธ์กับลูกเลย เปลี่ยนสถานการณ์ พาตัวเองออกไปจากสถานการณ์ก่อน วิธีการเหล่านี้จะรักษา
สัมพันธภาพระหว่างพ่อแม่ลูกไว้ได้ และลูกจะซึมซับไปใช้
3. พ่อแม่ต้องเป็นผู้จัดการเวลา จัดกิจวัตรประจ�าวัน กฎกติกา ซึ่งแต่ละบ้านอาจไม่เหมือนกัน
และการพัฒนาทักษะสมอง EF ของลูกไม่มีกฎตายตัวว่าต้องให้ลูกท�าอะไรเวลาใด ขึ้นอยู่กับวิถีชีวิต 6. เป็นต้นแบบในด้านทัศนคติ การให้คุณค่า พ่อแม่เป็นต้นแบบให้ลูกในเรื่องการ
ของแต่ละบ้าน สิ่งส�าคัญต้องมีความสุข ในการเลี้ยงดูลูกนั้นขณะที่พ่อแม่ต้อง “ยืนยัน” กฎกติกา มีทัศนคติที่ดี เพราะฉะนั้นในการเลี้ยงลูกให้มีทักษะสมอง EF พ่อแม่ต้องดูตัวเองด้วย
ทั้งหลาย แต่ก็ต้องมีการ “ยืดหยุ่น” ด้วย มีทั้งเรื่องที่ยืนยันว่าต้องท�า และยืดหยุ่นในบางเรื่อง ทัศนคติเป็นทั้งความคิด ความเข้าใจ ความตั้งใจที่เราจะใช้ชีวิตอย่างไร อยากให้ลูก
บางสถานการณ์ การยืดหยุ่นอาจมีข้อเสนอ มีทางเลือกให้ลูกเลือก แต่ต้องน�าไปสู่เป้าหมายที่ เติบโตเป็นคนที่ให้คุณค่า (Value) กับอะไร เช่น เป็นคนซื่อสัตย์ เป็นคนมีเมตตา
อยากให้เป็น เพราะเด็กยังไม่รู้ว่าต้องท�าอะไร อะไรคือสิ่งดี ถูกต้อง เหมาะสม ตารางเวลา กิจวัตรที่ ช่วยเหลือคนอื่น เป็นคนมุ่งมั่นจริงจัง ฯลฯ ซึ่งแต่ละบ้านให้คุณค่าต่างกัน และพ่อแม่
จัดให้ลูกด้วยบรรยากาศที่ผ่อนคลายจะท�าให้ลูกปฏิบัติตามโดยดี เป็นการเตรียมลูกส�าหรับชีวิต เป็นแบบอย่างให้ลูก สิ่งนี้จะมีบทบาทต่อการตัดสินใจของลูกในชีวิตภายภาคหน้า
ข้างหน้าด้วย เมื่อลูกถึงวัยต้องไปโรงเรียนก็จะสามารถท�าตามกฎกติกาของโรงเรียนและสังคมได้ไม่ยาก
118 119