Page 123 - Executive Functions ตั้งแต่ปฏิสนธิ-3 ปี
P. 123

Positive Parenting หรือกำรเลี้ยงลูกเชิงบวก
 สร้ำงพื้นฐำนทักษะสมอง EF ที่ดี   วินัยเชิงลบ (Negative Discipline) อุปสรรคต่อการพัฒนาทักษะสมอง EF


    พ่อแม่คงต้องหยุดถามตัวเองสักนิดว่า สไตล์การเลี้ยงดูลูกของตัวเองเป็นอย่างไร      พบว่าเด็กไทย 2-5 ปี ได้รับประสบการณ์ไม่ดี จากการที่พ่อแม่และครู
 คุณเป็นพ่อแม่ที่เลี้ยงลูกเชิงบวก หรือเป็นพ่อแม่ที่เลี้ยงลูกเชิงลบ ...คุณเคี่ยวเข็ญ   ใช้วินัยเชิงลบ (Negative Discipline) ซึ่งไม่ใช่เพียง “ห้าม” “ไม่” “อย่า” “หยุด”
 คอยสั่งให้ลูกท�าสิ่งต่างๆ เมื่อลูกไม่ท�า ท�าไม่ได้ ต่อต้าน ก็จะโมโห ดุว่า ท�าโทษลูก   แต่ยังรวมถึงประชดประชัน ข่มขู่ เช่น “เดี๋ยวให้ต�ารวจจับ” หรือเปรียบเทียบกับ

 หรือว่า... จะสอนลูกให้ท�าสิ่งต่างๆ อย่างเหมาะควรแก่วัยลูก เมื่อลูกท�าไม่ได้ ไม่ท�า   เด็กอื่น ฯลฯ และมีสถิติว่าทุกๆ 20 นาทีเด็กไทยเผชิญกับวินัยเชิงลบสูงสุดถึง

 ก็พูดโน้มน้าว มองหาวิธีการใหม่ๆ มาชวนให้ลูกท�า...    43 ครั้ง น้อยสุด 7 ครั้ง
    ทราบหรือไม่ว่า การเลี้ยงลูกเชิงลบนอกจากจะท�าให้เสียสุขภาพจิตทั้งพ่อแม่     มาดูกันว่าในแต่ละวันที่เด็ก 2-5 ขวบอยู่กับพ่อแม่หรือครู เด็กได้รับประสบการณ์
 ลูก เสียความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันแล้ว ยังสะกัดกั้นการพัฒนาสมองด้วย  ส่วนการเลี้ยง  อะไรบ้าง

 ลูกเชิงบวกจะท�าให้การฝึกสอนลูกได้ผลดี ที่ส�าคัญลูกมีพัฒนาการของทักษะสมอง   86%  4%

 EF ที่ดีด้วย อย่างไรก็ตาม พ่อแม่สามารถปรับเปลี่ยนการเลี้ยงดูลูกเสียใหม่ได้
 โดยการเลี้ยงลูกเชิงบวก ซึ่งมีลักษณะและการปฏิบัติดังนี้   ของเวลาทั้งวัน เด็กเผชิญกับวินัย  พ่อแม่หรือครูสั่งสอน
   ✿   เป็นพ่อแม่ที่มีทักษะสมอง EF ควบคุมอารมณ์ได้ ไม่หุนหันตอบโต้ลูก   เชิงลบ (Negative Discipline)  ดูแลให้กินอิ่ม นอนหลับ

         จะหยุดพิจารณา ประเมินลูก และคิดหาทางตอบสนองสถานการณ์อย่าง               ท�าการบ้าน

         ละมุนละม่อม  เป็นแบบอย่างให้ลูกเรียนรู้วิธีตอบสนองที่เหมาะสม   7%
   ✿   สะท้อนอารมณ์ลูก ให้ลูกได้รู้จักอารมณ์ต่างๆ เบี่ยงเบนอารมณ์ลูก และ   พ่อแม่หรือครูไม่มีปฏิสัมพันธ์  3%
         ให้ทางเลือกแก่ลูก        กับเด็ก ต่างคนต่างอยู่                         พูดคุย เล่น

   ✿   ท�าอย่างสม�่าเสมอ ท�าซ�้าๆ ย�้าบ่อยๆ

   ✿   ให้ความรัก สร้างความผูกพัน ความรู้สึกมั่นคงแก่ลูก แบบที่เรียกว่า Secure      แสดงให้เห็นว่าเด็กแทบไม่ได้รับการพัฒนา แทบไม่มีการพูดคุย เล่น ซึ่งเป็น
         Attachment ซึ่งไม่ใช่แค่ให้ความรักผูกพันเท่านั้น แต่ยังท�าให้ลูกเกิด   การท�างานของสมองส่วนหน้า แต่สมองส่วนอารมณ์ถูกกระตุ้นอยู่ถึง 86% ขัดขวาง
         ความรู้สึกอบอุ่น มั่นใจด้วย ซึ่งต้องใช้เวลาและค่อยๆ เกิดขึ้นจากการ   การพัฒนาสมองส่วนหน้า รวมไปถึงการสร้าง Attachment ฐานที่มั่นทางใจ

         เลี้ยงดูเชิงบวก (Positive Parenting) อย่างสม�่าเสมอ ซึ่งเมื่อเกิดขึ้นแล้ว   ที่สนับสนุนให้ลูกกล้าออกไปส�ารวจ เรียนรู้โลก และท�าให้ลูกรู้สึกว่าถ้าท�าอะไรพลาด

         จะติดตัวลูกไปตลอดชีวิต มีอิทธิพลต่อความรู้สึกนึกคิดและการตัดสินใจ   พลั้งยังมีคนให้โอกาส รวมทั้งสร้างทัศนคติที่ดี และการมองโลกในแง่ดี ซึ่งเด็กที่
         แม้ยามลูกอยู่ห่างจากพ่อแม่ ในทางตรงกันข้ามหากพ่อแม่ไม่สม�่าเสมอ    เติบโตโดยหวาดระแวงโลก มองโลกในแง่ร้าย พัฒนาการของทักษะสมอง EF
         ตอบสนองลูกแบบแล้วแต่อารมณ์ จะท�าให้ลูกต่อต้าน ดื้อ มีปัญหา  อาจจะพัฒนาไม่ดีเท่าที่ควร


                          ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล








 122                                                                                                         123
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128