Page 121 - Executive Functions ตั้งแต่ปฏิสนธิ-3 ปี
P. 121
ทักษะพ่อแม่ในการพัฒนาทักษะสมอง EF ของลูก มีอารมณ์มั่นคงเป็นสิ่งส�าคัญ ถ้าพูดให้เข้าใจง่ายๆ ก็คือพ่อแม่ต้องอารมณ์ดีไว้ก่อน
มีค�ากล่าวว่า “พ่อแม่ต้องพัฒนาตัวเองก่อน จึงจะสามารถพัฒนาลูกได้” ซึ่งจะท�าให้บรรยากาศในบ้านดี เด็กรู้สึกมั่นคง แต่ก็เป็นไปได้ว่าเด็กบางคนอาจจะ
และถ้าพ่อแม่อยากให้ลูกพัฒนาทักษะสมอง EF พ่อแม่ก็ต้องพัฒนาในเรื่องเหล่านี้ มีทักษะสมอง EF ที่ดีกว่าพ่อแม่ พ่อแม่อาจมีเวลาที่ควบคุมตนเองไม่ได้เพราะ
ไม่ได้รับการฝึกมาตั้งแต่เด็ก หากพ่อแม่พยายามฝึกลูก จะเท่ากับเป็นการฝึกตัวเอง
1. พ่อแม่จ�าเป็นต้องมีความรู้เรื่องพัฒนาการของลูกในแต่ละช่วงวัย เพราะเด็ก ไปด้วย พบว่าการที่พ่อแม่ท�าความเข้าใจอารมณ์ลูก ท�าให้การเลี้ยงดูลูกง่ายขึ้นมาก
มีพฤติกรรมพัฒนาการที่เปลี่ยนไปตลอดเวลา พ่อแม่ต้องติดตาม เฝ้าระวังพัฒนาการ พฤติกรรมเด็กสามารถสะท้อนถึงพ่อแม่ได้ พฤติกรรมเด็กเล็กๆ ก็สะท้อน
ของลูกไปตามช่วงวัย (สามารถเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน คู่มือเฝ้าระวังและ พ่อแม่ได้ มีการทดลองให้เด็กวัย 8-9 เดือนคลานไปบนแผ่นกระจกใส เด็กซึ่ง
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (Developmental Surveillance and Promotion ยังไม่รู้จักระยะ (Depth Perception) เมื่อแม่เรียกจะคลานไปหาแม่ทันที
Manual – DSPM) ซึ่งพ่อแม่ที่ให้ก�าเนิดบุตรตั้งแต่ 2 เมษายน 2558 เป็นต้นไปจะ พอ 9-10 เดือน เด็กเริ่มรู้จักระยะ พอคลานมาถึงกระจก เด็กจะหยุด มองมาทาง
ได้รับแจก) ค้นหาข้อมูลความรู้เกี่ยวกับเรื่องพัฒนาการของเด็กแต่ละวัย แม่ ในการทดลองให้แม่เรียกลูกให้คลานมาหา ถ้าแม่ท�าท่ากลัว บอกว่าอย่ามา
เด็กจะถอย เด็กอ่านสิ่งแวดล้อมจากคนที่เขาไว้ใจ พ่อแม่ที่ขี้วิตกกังวล คอยห่วง
2. พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูเด็ก ต้องมีแนวปฏิบัติที่เหมาะสมกับระดับพัฒนาการของเด็ก คอยห้ามลูก เด็กจะกลายเป็นคนขี้กลัว ซึ่งที่ถูกแล้ว ในจุดที่เป็นอันตรายแทนที่จะ
(Developmentally Appropriate Practice) พ่อแม่นอกจากต้องเข้าใจในเรื่อง ห้ามลูก พ่อแม่ควรสอนวิธีการให้ลูก เช่น ถ้าเห็นว่าการขึ้นบันไดชั้นบนเป็นอันตราย
พัฒนาการของเด็กแต่ละช่วงวัยแล้ว ยังต้องรู้จักตอบสนองลูกในแต่ละช่วงวัยในช่วง ก็สอนลูกให้รู้จักปีนขึ้นบันไดอย่างปลอดภัย เป็นต้น
เวลาส�าคัญของพัฒนาการอย่างเหมาะสม เช่น ลูกอายุ 10 ขวบแล้วพ่อแม่ยังเลี้ยงดู
เหมือนลูกอายุ 3 ขวบไม่ได้ หรือต้องดูว่าช่วงวัยใดสมองลูกเน้นพัฒนาความสามารถ
ด้านใด และพ่อแม่ต้องรู้ว่าจะช่วยกระตุ้นการพัฒนานั้นได้อย่างไร
3. พ่อแม่ต้องมีทักษะสมอง EF ที่ดี นอกจากมีความรู้ความเข้าใจเรื่องพัฒนาการ
และทักษะสมอง EF แล้ว ต้องมีการตอบสนอง (Reaction) ที่ดี เหมาะสม ควบคุมอารมณ์
ควบคุมตนเองได้ และรู้จักใช้วินัยเชิงบวก (Positive Discipline) ฯลฯ
ในเรื่องทักษะสมอง EF ของพ่อแม่นั้น มีข้อสังเกตว่า...
เด็กที่มีทักษะสมอง EF ดี เพราะพ่อแม่สามารถตอบสนองความต้องการทาง
ร่างกายและจิตใจของลูกได้ดี (Positive & Responsive Interaction) พ่อแม่
ที่ชอบโวยวาย วิตกกังวล ลูกมักขี้กลัว ส่วนผู้ปกครองที่มีอารมณ์และท่าทีมั่นคง
ใช้เหตุผล ลูกจะมีการยั้งคิด ไตร่ตรอง (Inhibit) และทักษะทางสังคมที่ดี มีการ
ควบคุมอารมณ์ กล้าแสดงความคิดเห็น ไม่กลัวผิด เพราะฉะนั้น การที่พ่อแม่
120 121