Page 125 - Executive Functions ตั้งแต่ปฏิสนธิ-3 ปี
P. 125

ควำมรู้สึกปลอดภัย     เมื่อรู้ เข้าใจถึงคุณประโยชน์ของการเป็นพ่อแม่ที่เลี้ยงลูกเชิงบวก และผลกระทบ     การสร้างความผูกพันแบบมั่นคงปลอดภัย

 ท�ำให้เกิดแรงกระตุ้นในทำงบวก   ของวินัยเชิงลบแล้ว พ่อแม่สามารถเปลี่ยนแปลงตัวเองเป็นพ่อแม่ที่ Positive ได้      การให้ความรักแก่ลูก การดูแลลูกให้กินอิ่มนอนหลับอาจจะสร้างความผูกพัน
 น�ำไปสู่ทักษะ  เริ่มด้วยการหยุด (อารมณ์และการตอบสนองอัตโนมัติ) ตั้งสติ คิดหาวิธีตอบสนอง  (Attachment) ได้ แต่ไม่ใช่ Secure Attachment การให้ความสุขสบายที่สุด

 กำรยั้งคิดไตร่ตรอง   อารมณ์ พฤติกรรมของลูกในทางบวก  สิ่งที่ดีที่สุดแก่ลูกก็ไม่อาจสร้างความรู้สึกมั่นคงทางจิตใจแก่ลูกได้เช่นกัน แม้พ่อแม่
               จะทุ่มเทให้สิ่งเหล่านี้แก่ลูก แต่ลูกก็ยังอาจมีปัญหาพฤติกรรม ดื้อ ต่อต้าน เจ้าอารมณ์
 (Inhibit) ท�ำให้สำมำรถ  สร้ำงควำมผูกพันแบบมั่นคงปลอดภัยให้ลูกเพื่อพัฒนำ  ไม่มีระเบียบฯ ได้

 หักห้ำมกำรกระท�ำที่ไม่ดี  ทักษะสมอง EF     การสร้างความรู้สึกมั่นคงให้ลูก ส่วนใหญ่เกิดจากลักษณะของกระบวนการ
 ไม่ถูกต้องได้    ความผูกพันแบบมั่นคงปลอดภัย (Secure Attachment) คือ ความรู้สึกอบอุ่น  สื่อสาร (non-verbal communication process) เช่น พ่อแม่แสดงความเข้าใจ

 ปลอดภัย มั่นใจ ท�าให้จิตใจเป็นสุขสงบ เกิดความมั่นคงทางอารมณ์ เมื่อมีปัญหา   อารมณ์ความรู้สึกของลูก มองหน้ามองตาลูก กอด สัมผัสลูก มีปฏิสัมพันธ์กับลูก

 ก็ไม่รู้สึกว่าโดดเดี่ยวอ้างว้าง ความรู้สึกนี้เกิดจากความเชื่อมั่น (Trust) ว่าตนมีคน      ปัจจัยเสริมสร้างความผูกพันแบบมั่นคงปลอดภัย

 (พ่อแม่) เข้าใจ สามารถช่วยเหลือ เป็นที่พึ่งพิงได้ โดยพ่อแม่ใส่ใจตอบสนอง      มีงานวิจัยพบว่าพ่อแม่ไทยสอนลูกหนักมาก จนมีค�าพูดว่า “สอนจนปาก
 ความต้องการ ปัญหาของเขา ร่วมทุกข์ร่วมสุข ยอมรับเขา   จะฉีกถึงหู” แต่ไม่ได้ผล ปัญหาคือ พ่อแม่ไม่ได้ตั้งเป้าว่าจะสอนอะไร เป็นการบ่นว่า
    ความรู้สึกปลอดภัยนี้เป็นพื้นฐานที่ส�าคัญของชีวิต ท�าให้เกิดแรงกระตุ้น   มากกว่า เช่น เวลาลูกท�าน�้าหก พ่อแม่ควรจะสอนให้ลูกเก็บเช็ดถูหรือสอนให้ป้องกัน

 ในทางบวก น�าไปสู่ทักษะการยั้งคิดไตร่ตรอง (Inhibit) ท�าให้สามารถหักห้าม   น�้าหก แต่พ่อแม่มักบ่นไปเรื่อยๆ ว่าท�าไมไม่รู้จักระวัง... ซึ่งพ่อแม่คิดว่านี่คือการสอน

 การกระท�าที่ไม่ดีไม่ถูกต้องได้ ส่วนคนที่ขาดความรู้สึกมั่นคงมักจะท�าอะไร   แต่การบ่น ต�าหนิ ดุว่า ท�าโทษ ได้ท�าลายสัมพันธภาพระหว่างพ่อแม่กับลูกไปนักต่อนัก
 ตามสัญชาตญาณ โดยจิตใจโหยหาความรักความอบอุ่นอยู่ตลอดเวลา ขาดหลัก   แล้ว และที่ส�าคัญยังเป็นปัจจัยลบต่อการสร้างความรู้สึกมั่นคงด้วย ถ้ามองในแง่
 ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ เห็นแก่ตัว ขาดความคิดเรื่องคุณธรรม   การพัฒนาทักษะสมอง EF การบ่น ดุว่าของพ่อแม่จะไปกระตุ้นสมองลิมบิกของลูก

    ในด้านการพัฒนาสมอง ความรู้สึกมั่นคงปลอดภัย (Secure Attachment)   ท�าให้ลูกเกิดความรู้สึกต่อต้าน ลูกอาจจะท�าตามพ่อแม่ด้วยความกลัว หรือไม่ท�า

 ท�าให้สมองของเด็กพัฒนาได้ดี ท�าให้จุดเชื่อมต่อใยประสาท (Synapses) แข็งแรง   เพราะต่อต้าน ในที่สุดลูกก็ไม่ได้เรียนรู้พัฒนา ดังตัวอย่างข้างต้นพ่อแม่ควรฉวย
 และเพิ่มจ�านวน เป็นพื้นฐานของความอยากเรียนรู้  ความเชื่อใจคน เชื่อใจโลกใบนี้   โอกาสพัฒนาทักษะสมอง EF ให้ลูกเรียนรู้ว่าถ้าเกิดเหตุแบบนี้ต้องท�าอะไร อย่างไร
 ความมั่นใจ รู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น (Empathy) ซึ่งน�าไปสู่การเป็นคนมีคุณธรรม   จะดีกว่าการบ่นว่าอย่างเดียว

           การขาดความรู้สึกมั่นคง จะส่งผลกระทบต่อการพัฒนาอารมณ์ จิตใจ ร่างกาย     พ่อแม่ควรเตือนตัวเองว่า .... ในชีวิตประจ�าวันเราสั่งหรือสอนลูก

 และความสัมพันธ์ รวมทั้งทักษะในการยั้งคิด ไตร่ตรอง (Inhibit) ทักษะสมอง EF      การสั่งนอกจากไม่ท�าให้เกิดความรู้สึกมั่นคงแล้วยังท�าให้เด็กไม่ได้ใช้ความคิด
 จะไม่พัฒนาไปอย่างดี   ไม่ได้พัฒนาทักษะสมอง EF ส่วนการสอน (ให้ลูกท�าอย่างพอเหมาะสมกับวัย)
               เป็นประสบการณ์ที่ลูกสามารถดึงมาใช้ในอนาคตได้ อย่างนี้เป็นวินัยเชิงบวก

               ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสื่อสารทางกาย (Non-verbal Communication) ของพ่อแม่

               ด้วย ซึ่งได้แก่การแสดงสีหน้าท่าทาง การมองตา (Eye Contact) น�้าเสียง สัมผัส
               ความอ่อนโยน ใส่ใจ เข้าใจ




 124                                                                                                         125
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130