Page 127 - Executive Functions ตั้งแต่ปฏิสนธิ-3 ปี
P. 127
อุปสรรคต่อการสร้างความผูกพันแบบมั่นคงปลอดภัย พ่อแม่มีควำมคำดหวัง
สมองลิมบิก กับความผูกพัน มั่นคงทางจิตใจ ✿ การที่สมองของลูกยังพัฒนาไม่สมบูรณ์ ลูกจึงยังไม่เข้าใจเรื่องเหตุและผล กับอนำคตของลูก
ตามโครงสร้างสมองของมนุษย์ สมองส่วนที่เก่าแก่ที่สุดและเจริญเติบโตเต็มที่เร็วที่สุด ท�าให้พ่อแม่อดทนกับลูกไม่ค่อยได้ จึงมุ่งเน้นกำรสั่งสอน
มี 2 ส่วน คือ สมองส่วนแกน (Core Brain) ท�าหน้าที่เกี่ยวกับการมีชีวิตรอดของมนุษย์ ✿ บุคลิกภาพของพ่อแม่ซึ่งแต่ละคนเติบโตมาต่างกัน มีทักษะสมอง EF ด้วยควำมหวังดี
เกี่ยวข้องกับระบบอัตโนมัติ เช่น การหายใจ และสมองส่วนลิมบิก (Limbic Brain) เป็น มากน้อยต่างกัน พ่อแม่ที่สงบ รับฟังลูก เข้าใจลูก จะสร้างความรู้สึกมั่นคง ผลก็คือเด็กไทยถูก
สมองส่วนที่พัฒนาต่อมาจากสมองส่วนแกน ท�าหน้าที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์ความรู้สึก ให้ลูกได้ดีกว่าพ่อแม่ที่อารมณ์ไม่มั่นคง แต่พ่อแม่สามารถเปลี่ยนแปลง สอนมำก ถูกปิดกั้น
การเรียนรู้และจดจ�า ปรับปรุงได้ หากเข้าใจยอมรับว่าบุคลิกของตนมีผลกระทบต่อลูก โอกำสที่จะคิด ท�ำ
โครงสร้างสมองทั้ง 2 ส่วนนี้เจริญเติบโตเต็มที่ตั้งแต่แรกเกิด เพื่อให้ทารกพร้อมเรียนรู้ ✿ วิธีการอบรมเลี้ยงดูลูกที่ไม่สม�่าเสมอ ขาดความต่อเนื่อง ความสัมพันธ์ แก้ปัญหำด้วยตัวเอง
เรื่องการอยู่รอดในโลกนี้ และสิ่งแรกที่ทารกพร้อมจะเรียนรู้ก็คือ ความผูกพันแบบปลอดภัย ระหว่างพ่อแม่กับลูกมีปัญหา
(Secure Attachment) ซึ่งจะได้รับจากผู้เลี้ยงดู โดยสมองลิมบิกจะท�าหน้าที่เรียนรู้
และจดจ�าความรู้สึกปลอดภัย หรืออันตรายที่ได้รับจากผู้เลี้ยงดู ประสบการณ์ที่สั่งสม ปัญหำและอุปสรรคในกำรพัฒนำทักษะสมอง EF
จากการดูแลของผู้เลี้ยงดูนี้จะกลายเป็นคุณภาพความผูกพันที่ส่งผลต่อการท�างานของ ดังที่กล่าวข้างต้นแล้วว่าการพัฒนาทักษะสมอง EF ลูกไม่ใช่เรื่องยาก สามารถ
สมอง จิตใจ และพฤติกรรมของเด็กต่อไปในอนาคต บูรณาการไปกับชีวิตประจ�าวันได้ แต่พบว่า มีปัจจัยบางอย่างบางเรื่องเป็นอุปสรรค
ถึงแม้ว่าสมองส่วนลิมบิกและสมองส่วนแกนของทารกจะเจริญเติบโตและพร้อมใช้ ท�าให้พ่อแม่ไม่สามารถพัฒนาทักษะสมอง EF ลูกได้ คือ
มากกว่าสมองส่วนหน้า แต่ความผูกพันแบบปลอดภัย (Secure Attachment) ที่มีต่อ ✿ พ่อแม่รับมือกับพฤติกรรมพัฒนาการของลูกไม่ถูก ไม่แน่ใจว่าอะไรคือ
ผู้เลี้ยงดู สามารถกระตุ้นทักษะสมอง EF ให้ท�างานได้ตามศักยภาพตั้งแต่แรกเกิดได้ ธรรมชาติพัฒนาการ อะไรคือพฤติกรรมที่ควรได้รับการแก้ไข พ่อแม่ไม่
เพราะการตอบสนองความต้องการของเด็กทารกอย่างสม�่าเสมอด้วยความรัก ด้วย สามารถวิเคราะห์เชื่อมโยงข้อมูลความรู้ เมื่อต้องเผชิญกับสถานการณ์จริง
ความอบอุ่นใกล้ชิด จะท�าให้สมองลิมบิกของทารกเกิดความพึงพอใจและจดจ�าพฤติกรรม ไม่สามารถหยิบความรู้นั้นมาจัดการกับลูกกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้
ของผู้เลี้ยงดูได้ เช่น เมื่อร้องไห้หิวนม แม่ส่งเสียงตอบรับ เดินมาหาแล้วอุ้มลูกมาดูดนม ✿ พ่อแม่มีความคาดหวังกับอนาคตของลูก จึงมุ่งเน้นการสั่งสอนด้วย
ยิ้มให้ลูกระหว่างลูกดูดนมจนอิ่ม ทารกก็จะรู้สึกมั่นคงปลอดภัยและเชื่อใจเมื่อเกิด ความหวังดี ผลก็คือเด็กไทยถูกสอนมาก ถูกปิดกั้นโอกาสที่จะคิด ท�า
ความหิวครั้งต่อไป เพียงแค่ได้ยินเสียงตอบรับของแม่ แก้ปัญหาด้วยตัวเอง
การพัฒนาของสมองใหญ่ที่มีบทบาทด้านทักษะสมอง EF ที่ดีจะมาควบคุมการ
ตอบสนองของสมองลิมบิกให้เป็นไปอย่างเหมาะสม
ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล
126 127