Page 158 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 158

transition                                                                                                            ความหมายของรอยเชื่อมต่อ (transition)
                 1                        ในช่วงชีวิตปฐมวัย (แรกเกิด–8 ปี) เด็กทุกคนไม่อาจหลีกเลี่ยงการเผชิญกับรอย



                                     เชื่อมต่อ (transition) ได้ โดยรอยเชื่อมต่อที่ส�าคัญที่เด็กปฐมวัยจะต้องประสบมี 2                 มีผู้ให้ความหมายของค�าว่า รอยเชื่อมต่อ (transition) ทั้งในแง่ของนิยามโดยทั่วไปและนิยาม
                                     ช่วงระยะ คือ (1) รอยเชื่อมต่อระหว่างบ้านและสถานรับเลี้ยงเด็กหรือโรงเรียนอนุบาล                ในทางการศึกษา ดังนี้
                                     และ (2) รอยเชื่อมต่อระหว่างชั้นเรียนอนุบาลกับชั้นเรียนประถมศึกษา รอยเชื่อมต่อ

                                     ทั้งสองช่วงระยะล้วนมีการเปลี่ยนแปลง และเป็นประสบการณ์ส�าคัญส�าหรับเด็กที่จะ                                                        = การเปลี่ยน การส่งผ่าน หรือส่วนเชื่อมต่อ
                  บ้าน               ต้องเรียนรู้และปรับตัวเพื่อก้าวผ่านการเปลี่ยนแปลงครั้งส�าคัญนั้นๆ ไปให้ได้                                                         = การเปลี่ยนแปลงใดๆ ที่เกิดขึ้นย่อมมีความแตกต่าง

                                                                                                                                      Transition (n)                    = อะไรก็ตามที่ไม่เหมือนเดิมถือเป็นการเปลี่ยนแปลง


                                                                                                                                                                        = การเชื่อมโยงระหว่างสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างน้อยสองส่วน
                                                                                                                                                                        หรือประสานหรือเชื่อมต่อของระดับชั้นเรียนที่มี

                                                                                                                                                                        ธรรมชาติในการจัดการเรียนรู้และระบบการศึกษาที่
                                                 transition                                                                                                             แตกต่างกันออกไป
                     สถานรับเลี้ยงเด็ก               2                                                                                                                  = การเชื่อมต่อ การส่งผ่าน และการสอดประสานกัน

                     โรงเรียนอนุบาล                                ชั้นเรียนอนุบาล        ชั้นเรียนประถม                                                                ระหว่างการจัดการเรียนรู้และระบบการศึกษาของ
                                                                                                                                                                        ชั้นเรียนหนึ่งไปยังอีกชั้นเรียนหนึ่ง



                                                                                                                                                                        = ก้าวย่างส�าคัญของเด็ก
                                           ในบทนี้จะเน้นเฉพาะความส�าคัญของรอยเชื่อมต่อระหว่างชั้นเรียนอนุบาลกับ
                                      ประถมศึกษาและแนวปฏิบัติส�าหรับครูประถมศึกษาในการจัดการศึกษาในรอยเชื่อม

                                      ต่อดังกล่าว เพราะเด็กที่อยู่ในรอยเชื่อมต่อระหว่างชั้นเรียนอนุบาลและชั้นเรียน
                                      ประถมศึกษานั้นมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นมากมาย ซึ่งเป็นผลมาจากทั้งปัจจัยภายใน                    จากความหมายทั้งหมดนี้ท�าให้เห็นว่า ค�าว่า “รอยเชื่อมต่อ” สะท้อนให้เห็นความหมายที่ลึกซึ้ง
                                      และปัจจัยภายนอกอันเป็นเหตุให้เด็กจ�าเป็นต้องเรียนรู้และปรับตัว แต่เนื่องจาก                  ในหลายนัยยะ

                                      พัฒนาการของเด็กวัยนี้ยังไม่เอื้อต่อการยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นง่ายนัก การ
                                      ปรับตัวของเด็กในช่วงรอยเชื่อมต่อจึงเป็นสิ่งส�าคัญซึ่งจ�าเป็นต้องได้รับการสนับสนุน
                                      และการช่วยเหลือที่เหมาะสมจากครู พ่อแม่ ผู้ปกครอง ตลอดจนบุคคลอื่นๆ ที่                                                    >> เมี่อน�ามาใช้ในบริบทของการศึกษา จะให้ความรู้สึกถึงการ
                                      เกี่ยวข้องและแวดล้อมกับเด็กปฐมวัยในช่วงของรอยเชื่อมต่อดังกล่าว นี่จึงนับเป็น                         ประการแรก           เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในรอยเชื่อมต่อ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่สะท้อน
                                      ความท้าทายอย่างมากที่จะช่วยให้เด็กช่วงวัยที่อยู่ในรอยเชื่อมนี้ก้าวผ่านรอยเชื่อม                     “การเปลี่ยน”         ให้เห็นถึงความแตกต่างของการจัดการศึกษาที่มีจุดเน้นและลักษณะ

                                      ต่อไปได้ด้วยดี
                                                                                                                                                               การเรียนรู้ที่แตกต่างกันไปในมิติต่างๆ








            158                                                                                                                                                                                                                  159
   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163