Page 153 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 153

เรียนรู้ไปด้วยกัน  ให้ได้ลงมือปฏิบัติ



       สิ่งหนี่งที่ขาดไม่ได้ของทั้ง 4 โรงเรียน คือบอร์ดหรือพื้นที่ติดผลงาน        ที่โรงเรียนวรรณสว่างจิต วิชาทักษะตรง เช่น คณิตศาสตร์ ในชั้นป.1
 เด็กในห้อง เพื่อให้นักเรียนได้น�าเสนอความภาคภูมิใจในสิ่งที่เรียนรู้  ได้เห็น  จะเริ่มจากการลงมือปฏิบัติ เช่น ให้น�ากระดุมมาเรียงเป็นเลขหนึ่งอารบิค
 ความก้าวหน้าของงานตนเอง ให้คนอื่นได้เรียนรู้และเรียนรู้จากคนอื่น  หรือเอานิ้วเขียนบนหลังเพื่อนซ�้าๆ เป็นการฝึกกล้ามเนื้อมัดเล็ก ฝึกทักษะ

       ตัวอย่างการเรียนรู้ร่วมกัน เช่นที่โรงเรียนเพลินพัฒนา เมื่อจะเรียน  การท�างานประสานกันระหว่างมือกับตา และให้เด็กได้ช่วยเพื่อนด้วย เช่น
 เรื่องสมบัติผู้ดี ครูจะไม่เอาหนังสือสมบัติผู้ดีมาอ่านให้เด็กฟัง แต่จะเปลี่ยน  ในห้องที่มีเด็กพิเศษมาเรียนร่วม
 เป็นตั้งโจทย์ “เพื่อนแบบไหนที่เด็กๆ อยากคบหา” แล้วให้เด็กไปสอบถาม        ถ้าเรียนเรื่องการตวง จะให้เอาภาชนะมาตวง เรียนเป็นเกม เรียนผ่าน

 ความคิดเห็นจากการสัมภาษณ์เพื่อนๆ จากนั้นไปสัมภาษณ์ครู แล้วกลับมา  กิจกรรม ลงมือท�า เพื่อสร้างทัศนคติที่ดีกับวิชานั้นๆ ก่อน ได้คอนเซ็ปต์ก่อน
 เขียนงาน ท�างานเสร็จน�าไปติดไว้รอบห้อง เพื่อให้เด็กๆ เขียนชื่นชมเพื่อน   ยิ่งถ้าครูสอนสนุก มีกิจกรรมสนุก นักเรียนก็ยิ่งอยากมาเรียนอีกในวันต่อไป
 เป็นการเรียนรู้จากกันและกันว่าสิ่งที่เพื่อนท�าได้ดีคืออะไร อยากจะพัฒนา  ส่วนแบบฝึกหัดเป็นเรื่องรอง เป็นเรื่องของการสรุปความรู้ ต้องให้เด็กได้
 อะไรจากสิ่งที่ได้อ่าน จากนั้นครูจะมาชี้ให้เห็นว่า การน�าเสนอของนักเรียน  คอนเซ็ปต์ของเรื่องที่จะเรียนรู้ก่อนจึงจะท�าแบบฝึกหัดได้
 เป็นอย่างไร เช่น ใครน�าเสนอได้ดี ใครจัดระบบความคิดได้ดี ใครน�าเสนอ        ในการเรียนเรื่องการตวง จะให้ตวงจากของจริงผ่านการท�าขนม โจทย์

 แต่แนวคิดหลัก แต่ขาดการขยายความ เป็นต้น  คือให้ท�าขนมเข่งคนละชิ้น โดยใช้ความรู้ที่เรียนเรื่องการตวงมาใช้ ซึ่งเมื่อ
       พบว่าเมื่อเด็กเรียนรู้ข้อดีข้อเสียของเพื่อน ผ่านการวิเคราะห์ วิจารณ์   ท�าออกมาแล้วจะได้รู้ว่าถ้าไม่ท�าตามสูตร ตวงแป้งไม่ถูกสัดส่วน ขนมจะ
 ผ่านข้อมูลที่เห็นชัดเจน เด็กจะได้เห็นตัวเองไปด้วย แล้วจะน�ามาพัฒนางาน  ออกมาเป็นอย่างไร แข็งไป  นิ่มไป นักเรียนจะสรุปด้วยตัวเองได้ว่าอัตราส่วน

 ของตัวเองได้ต่อไป  มีความส�าคัญในการท�าอาหารหรือท�าสิ่งต่างๆ อย่างไร
       การสรุปการเรียนรู้หรือการ AAR ร่วมกันเมื่อจบกิจกรรม จบวัน          ในวิชาภาษาไทย จะเรียนรู้เชื่อมโยงกับชีวิตประจ�าวัน เช่น เรียนรู้การ
 จบสัปดาห์ จบการเรียนแต่ละหน่วยวิชา หน่วยการเรียนรู้ นพ.ประเสริฐ   ใช้สื่อ เพราะในปัจจุบันสื่ออาจเป็นอันตรายกับนักเรียนได้ถ้าไม่เข้าใจดีพอ
 ผลิตผลการพิมพ์ เรียกว่า เป็นการ “save” ความรู้เข้าสู่สมอง  ครูจะให้นักเรียนวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากสื่อร่วมกัน ให้คิดกันว่าสิ่งที่ได้ยิน
       การสรุปการเรียนรู้ สรุปสิ่งที่ตนเองท�า จะท�าให้เด็กได้ตรวจสอบ   ได้ฟังมานั้นน่าเชื่อ ควรเชื่อหรือไม่  น�าไปใช้ในชีวิตประจ�าวันได้หรือไม่  เพื่อ

 ความรู้สึก ความคิด การกระท�าในระหว่างท�างานหรือเมื่อท�างานเสร็จแล้ว   ว่าหากเข้าไปค้นคว้าในอินเทอร์เน็ต แล้วมีภาพที่ไม่เหมาะสมปรากฏขึ้นมา
 เพื่อให้มั่นใจได้ว่าเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ หากบกพร่อง ผิดพลาด    ให้เห็น จะได้มีภูมิคุ้มกัน ได้รู้เท่าทันสื่อ เป็นสิ่งที่ครูจะสอนควบคู่ไปกับวิชา
 จะได้ท�าการแก้ไข และยังท�าให้เห็นจุดแข็งและจุดด้อยที่ต้องปรับปรุงได้  ภาษาไทยได้

 อย่างชัดเจน เป็นทักษะสมอง EF ด้านการติดตามประเมินตนเองด้านหนึ่ง      วิชาพิเศษ เช่น ดนตรี นาฏศิลป์ โขน ศิลปะ ว่ายน�้า พละ สารสนเทศ
 ที่ส�าคัญ     ภาษาอังกฤษ เป็นทักษะตรงเช่นกัน  โรงเรียนจะจัดครูที่มีความเชี่ยวชาญ
               ในวิชาต่างๆ มาสอน นักเรียนจะได้เรียนทุกวิชามาตั้งแต่ ป.1 จนถึง ป.6
               เพื่อจะได้เห็นความถนัด ศักยภาพของตัวเอง












 152                                                                                                         153
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158