Page 179 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 179

4.  จัดท�าระบบฐานข้อมูลของเด็กแต่ละคนโดยละเอียด โดยเก็บรวบรวมข้อมูล    9.  จัดสภาพแวดล้อมในชั้นเรียนให้คล้ายคลึงกับบ้าน (homelike environ-

 ที่สะท้อนภูมิหลังของเด็กเป็นรายบุคคล ทั้งข้อมูลก่อนเปิดภาคเรียนและข้อมูล   ment) เพื่อท�าให้เด็กเกิดความคุ้นเคย จัดชั้นเรียนให้เป็นมุมต่างๆ นอกจากนี้ครูควร
 ขณะที่เปิดภาคเรียนไปแล้ว เพื่อครูจะสามารถใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในการเรียนรู้   จัดตารางและกิจวัตรต่างๆ ให้ชัดเจนและเป็นระบบ รวมถึงก�าหนดกติกาและข้อ
 ท�าความเข้าใจและวางแผนจัดกิจกรรมได้เหมาะสมกับเด็กเป็นรายบุคคล รวมถึง  ตกลงในชั้นเรียนให้ชัดเจนเพื่อที่เด็กจะสามารถปฏิบัติตามได้โดยง่าย ส่วนในเรื่อง
 เป็นฐานข้อมูลในการระบุข้อจ�ากัดและปัญหาที่เด็กเผชิญขณะที่อยู่ในช่วงของ   การนอนส�าหรับชั้นประถม 1 เพื่อให้เด็กได้ค่อยๆ ปรับตัว บางโรงเรียนให้นอนแบบ

 รอยเชื่อมต่อ เพื่อที่ครูจะได้ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือเด็กแต่ละคนได้อย่าง  ไม่จริงจัง เช่น ให้งีบหลังกินข้าวประมาณ 15-20 นาที หรือบางโรงเรียนไม่ได้ให้นอน
 เหมาะสม       แต่ให้นั่งสมาธิแทน ทั้งนี้ให้ขึ้นกับตัวเด็กเองว่าจะสามารถท�าได้มากน้อยแค่ไหน
   5.  วางแผนและจัดการเรียนรู้โดยยึดกรอบการพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม
 ไม่มุ่งเน้นการพัฒนาเด็กในด้านใดด้านหนึ่งเป็นการเฉพาะ แต่เน้นการปรับตัว

 อย่างสมดุลตามพัฒนาการทุกด้านในช่วงรอยเชื่อมต่อ
   6.  จัดการเรียนรู้ในลักษณะของโปรแกรมเชื่อมต่อก่อนเปิดภาคเรียน เช่น
 โปรแกรมภาคฤดูร้อน เพื่อสร้างความคุ้นเคยให้กับเด็กในการมาโรงเรียนก่อนเปิด
 ภาคเรียนจริง และเพื่อจัดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้กิจวัตรประจ�าวันของนักเรียน

 ประถมศึกษาล่วงหน้า
   7.  จัดการเรียนรู้ตามแนวคิด self-contained classroom โดยครูประจ�าชั้น
 เพียงคนเดียวและท�าหน้าที่สอนในวิชาหลัก ครูจะสามารถใช้เวลาเต็มที่กับเด็ก
 ในแต่ละวัน ถือเป็นการอ�านวยความสะดวกให้กับครูประจ�าชั้นในการเรียนรู้และ

 ท�าความเข้าใจเด็กในชั้นเรียนเป็นรายบุคคลได้เร็วขึ้น และเด็กยังสามารถเรียนรู้
 และปรับตัวเข้ากับครูได้เร็วขึ้นอีกด้วย
   8.  พยายามสร้างให้เด็กมีทัศนคติที่ดีในการมาโรงเรียนให้เป็นเชิงบวก สร้าง
 first impression ให้กับเด็ก ไม่ให้รู้สึกว่ามีภาระกลับบ้านพร้อมการบ้าน ต้องตื่น

 เช้ามาโรงเรียน เข้าแถว แล้วไม่ได้เล่น ต้องเปิดโอกาสและให้อิสระกับเด็กขณะอยู่
 ในชั้นเรียน ท�าให้เด็กแต่ละคนรู้สึกผ่อนคลายกับการมาโรงเรียน รวมทั้งให้แรงเสริม
 ภายในเมื่อเด็กท�าสิ่งต่างๆ ได้ประสบผลส�าเร็จในชั้นเรียน






                 รายการอ้างอิง
                 Chan, W. L. (2012). Expectations for the transition from kindergarten to
                 primary school amongst teachers, parents, and children. Early Child
                 Development and Care, 182(5), 639-664.







 178                                                                                                         179
   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184