Page 176 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 176
โมเดลเชิงนิเวศวิทยาของ Bronfenbrenner (bredekamp, 2012) โมเดลเชิงนิเวศวิทยานี้อธิบายว่า สิ่งที่อยู่ในโมเดลนี้มีผลกับเด็กในเรื่องการปรับตัว
ทั้งทางบวกและทางลบ หมายความว่า ถ้าทุกภาคส่วนที่แวดล้อมเด็กอยู่ ทั้งโรงเรียน
ครอบครัว ชุมชน มีความเข้าใจตรงกัน มีบรรทัดฐานเดียวกัน สามารถดูแลเด็กในทิศทาง
เดียวกัน และมีส่วนของ Ecosystem เช่น บริบททางสังคมและเศรษฐกิจ สื่อสารมวลชน
Macrosystem กฎหมายและนโยบายของรัฐที่สอดคล้องกัน ทั้งหมดจะส่งผลบวกให้เด็กในการปรับตัว
แต่ในทางตรงข้าม ถ้าภาคส่วนใดมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน หรือปฏิบัติต่างออกไป
บริบททางวัฒนธรรม ก็จะส่งผลด้านลบกับเด็กในด้านการปรับตัวที่อยู่ในช่วงของรอยเชื่อมต่อได้
Exosystem
การเชื่อมโยงระหว่าง แนวปฏิบัติส�าหรับครูประถมศึกษาในการจัดการเรียนรู้
Mesosystem ในช่วงรอยเชื่อมต่อระหว่างชั้นเรียนอนุบาลและประถมศึกษา
และ Microsystem ตามกรอบแนวปฏิบัติที่เหมาะสมตามพัฒนาการ
(Developmentally Appropriate Practice: DAP)
บริบททางสังคมและเศรษฐกิจ ครอบครัว ตัวเด็ก ชุมชน สื่อสารมวลชน 1. ผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งผู้ปกครองและครู ต้องเรียนรู้และท�าความเข้าใจธรรมชาติและตัวตน
ที่แท้จริงของเด็กที่ก�าลังอยู่ในช่วงรอยเชื่อมต่อระหว่างชั้นเรียนอนุบาลและประถมศึกษา
2. สร้างความตระหนักและท�าความเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเองในฐานะครูประถม
การเข้าร่วมกิจกรรม ศึกษาที่มีหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนเด็กให้เกิดการเรียนรู้และปรับตัวในช่วงรอยเชื่อมต่อ
ได้ส�าเร็จ ครูต้องปรับวิธีคิดของตนเองให้มีความยืดหยุ่นโดยเฉพาะครูประถม เน้นการ
ทางศาสนา จัดการเรียนรู้ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความแตกต่างรายบุคคล
โรงเรียน 3. ท�างานร่วมกันเป็นทีมกับผู้เกี่ยวข้องกับเด็ก โดยติดต่อประสานงานกับครูอนุบาล
Microsystem ที่เคยเป็นครูประจ�าชั้นของเด็ก เพื่อขอรับข้อมูลของเด็กขณะอยู่ชั้นอนุบาลและจัดประชุม
ร่วมกันก่อนเปิดภาคเรียน เพื่อที่ครูประจ�าชั้นระดับประถมศึกษาจะสามารถเรียนรู้
กฎหมายและนโยบายภาครัฐ และท�าความรู้จักเด็กในเบื้องต้น หรือการสร้างเครือข่ายและสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ปกครอง
และครอบครัวของเด็ก (มีตัวอย่างในต่างประเทศ ที่ครูจัดให้เด็กอนุบาล 3 และประถม 1
ความเชื่อและค่านิยมของสังคม มาเรียนด้วยกันในบางกิจกรรม แสดงว่าในช่วง 2 ปีนี้ เด็กจะได้เจอครูชุดเดียวกันอย่าง
น้อย 2-3 คน เด็กอนุบาลจะได้ค่อยๆ ปรับตัว เมื่อขึ้นชั้นประถม 1 ส่วนเด็กประถม 1 ก็ได้
เรียนรู้กับเด็กอนุบาล 3 ขณะที่ก็จะได้เตรียมตัวขึ้นชั้นประถม 2 ไปด้วย)
176 177