Page 174 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 174
แนวคิดและทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับรอยเชื่อมต่อ
ระหว่างชั้นเรียนอนุบาลและประถมศึกษา
ช่วงรอยต่อแห่งการเรียนรู้
(zone of proximal development) ของ Lev Vygotsky
เรียกว่าการเสริมต่อการเรียนรู้ (scaffolding) โดยมากมักจะปรากฏอยู่ในช่วงรอยต่อ
แห่งการเรียนรู้หรือ the zone of proximal development (ZPD) ซึ่งหมายถึง
ช่วงรอยต่อแห่งการเรียนรู้ บริเวณพื้นที่ที่แสดงว่าเด็กยังไม่มีความรู้หรือยังขาดทักษะในเรื่องใดเรื่องหนึ่งอยู่
ถ้าหากเด็กได้รับการเสริมต่อการเรียนรู้ เช่น การช่วยเหลือสนับสนุนหรือให้ค�าชี้แนะ
(zone of proximal development)
จากผู้ใหญ่หรือผู้ที่มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญมากกว่า เด็กจะเกิดเรียนรู้
และเกิดทักษะนั้นๆ ได้
ในภาพจะเห็นว่าพื้นที่ส่วนกลางที่เป็นสีเข้มนั้นเป็นบริเวณพื้นที่ที่อยู่ระหว่าง
เด็กยังไม่สามารถ เด็กเรียนรู้และปรับตัวได้ส�าเร็จ เด็กเรียนรู้และปรับตัว สิ่งที่เด็กยังไม่รู้หรือยังท�าไม่ได้กับสิ่งที่เด็กรู้หรือท�าได้แล้ว บริเวณส่วนที่เป็นรอยต่อ
ปรับตัวในช่วง หากได้รับการเสริมต่อการเรียนรู้ ได้ในช่วงรอยเชื่อมต่อ แห่งการเรียนรู้จึงเป็นพื้นที่ที่สะท้อนให้เห็นว่าเด็กนั้นมีศักยภาพในการเรียนรู้หรือ
รอยเชื่อมต่อได้ (scaffolding) จากครูและ ในการกระท�าสิ่งใดสิ่งหนึ่งหากได้รับการส่งเสริมช่วยเหลือและสนับสนุนจากผู้ใหญ่
พ่อแม่ผู้ปกครอง
หรือบุคคลที่มีความช�านาญมากกว่า
การเรียนรู้และการปรับตัวของเด็กในช่วงรอยเชื่อมต่อระหว่างชั้นเรียนอนุบาลและประถมศึกษา แนวคิดของ Vygotsky สอดคล้องกับประเด็นเรื่องรอยเชื่อมต่อระหว่างชั้นเรียน
อนุบาลและประถม นั่นคือในรอยเชื่อมต่อระหว่างชั้นเรียนอนุบาลและประถม เป็น
ช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างมากมาย เด็กที่ก้าวเข้าสู่รอยเชื่อมต่อนี้จ�าเป็น
ต้องเรียนรู้และปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นด้วยวุฒิภาวะที่จ�ากัด
ขณะที่ประสบการณ์เดิมยังไม่มากพอ เป็นผลท�าให้เด็กต้องประสบความยากล�าบาก
Lev Vygotsky (1978) นักจิตวิทยา ได้อธิบายว่าเด็กมีการเรียนรู้ผ่านการมี และอาจต้องใช้เวลาในการปรับตัวให้เข้ากับรอยเชื่อมต่อดังกล่าวให้ได้ ดังนั้นหากครู
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและบริบททางวัฒนธรรม เขามองว่าการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง และพ่อแม่ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการเสริมต่อการเรียนรู้ด้วยการให้ความ
บุคคลและสังคมโดยรอบเป็นเครื่องมือส�าคัญในการเรียนรู้ของเด็ก นอกจากการ ช่วยเหลือและสนับสนุนเด็กในช่วงดังกล่าว จะท�าให้เด็กสามารถปรับตัวและก้าวผ่าน
เรียนรู้ผ่านการมีปฏิสัมพันธ์แล้ว การเรียนรู้ยังเกิดขึ้นได้โดยผ่านกระบวนการที่ ไปได้
174 175