Page 94 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 94

การก�ากับตนเอง (Self-Regulation - SR) แบ่งออกเป็น                                               EF/SR กับความส�าเร็จทางการเรียน

                                     การก�ากับตนเองที่ควบคุมจากล่างขึ้นบน (bottom-up process) หมายถึง                                ทั้ง EF และ SR (top-down self-regulation) เกี่ยวข้องกับความส�าเร็จ

                                   การที่เราตอบสนองต่อตัวกระตุ้นที่ผ่านเข้ามาทางประสาทสัมผัส ไม่ต้องใช้ความ                        ทางการเรียนของเด็กตั้งแต่ระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา จนถึงระดับ
                                   คิดมาควบคุม มักจะเกิดขึ้นโดยทันทีแบบอัตโนมัติ ยกตัวอย่างเช่น การที่เรารู้สึกตื่นเต้น            มหาวิทยาลัย เด็กที่มีความบกพร่องของ EF หรือมีปัญหาในการก�ากับตนเอง มีโอกาส
                                   กังวลเมื่อต้องเจอสิ่งใหม่ๆ การที่เราตื่นตัวเมื่อมีรางวัลเข้ามาเกี่ยวข้อง หรือการที่เรา          ที่จะเรียนส�าเร็จน้อยกว่าเด็กที่มี EF/SR ดีกว่า นอกจากนั้นเด็กที่มี EF/SR ดีจะมีปัญหา
                                   เผชิญกับบางสิ่งบางอย่างที่เด่นชัดขึ้นมาทันทีทันใด ส่วนใหญ่แล้วการก�ากับตนเอง                    ด้านอารมณ์ ปัญหาพฤติกรรมที่แสดงออกน้อยกว่า เช่น ความก้าวร้าวรุนแรง การก่อ

                                   จากล่างขึ้นบนไม่ต้องอาศัยเปลือกสมอง (cortical) ใช้เพียงแค่สมองส่วนที่อยู่ข้างใต้เปลือก          ความวุ่นวาย ความไม่สงบ รวมทั้งมีปัญหาพฤติกรรมแบบเก็บกดน้อยกว่าด้วย เช่น
                                   สมอง (subcortical) เท่านั้น                                                                     พฤติกรรมแยกตัวจากสังคม ความวิตกกังวล ซึมเศร้า เป็นต้น
                                                                                                                                     เด็กที่มี EF/SR ดีจะมีความอยากไปโรงเรียนมากกว่า และมีทักษะทางสังคมที่ดีกว่า
                                                                                                                                   คือเป็นที่ยอมรับของเพื่อนๆ มีความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนๆ มีความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น

                                                                                                                                   รู้จักแบ่งปัน อยากช่วยเหลือผู้อื่น

                                                               การก�ากับตนเองที่ควบคุมจากบนลงล่าง (top-

                                             เปลือกสมอง        down process) นั้นจะเกิดช้ากว่าเพราะเป็นการ                         EF/SR ดี เมื่อโตขึ้นจะประสบความส�าเร็จในชีวิตมากกว่า
                                                               ท�างานของเปลือกสมอง (cortical) โดยเป็นการ
                                                               ตอบสนองที่เกิดจากความคิดความตั้งใจมากกว่า                             เด็กที่มี EF/SR ดีนั้น เมื่อโตขึ้นจะมีความส�าเร็จในอาชีพการงาน มีสุขภาพที่ดีกว่า

                                                               การตอบสนองออกไปแบบอัตโนมัติ ต้องใช้ working                         มีชีวิตคู่ที่ราบรื่นกว่า และมีอายุยืนยาวกว่าอีกด้วย
                                                               memory ในการที่จะน�าไปสู่การปฏิบัติ เช่น การ                          จากการศึกษาในเด็กกว่าพันคนที่เกิดในปีเดียวกัน พบว่าเด็กที่มีความบกพร่องของ
                                                               ตั้งใจที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อารมณ์ ความคิด                       EF/SR เมื่อเป็นวัยรุ่นมีแนวโน้มที่จะสูบบุหรี่สูงกว่า มีการตั้งครรภ์โดยไม่ได้วางแผน

                                                               ให้สอดคล้องหรือเป็นไปในแนวทางเดียวกันกับ                            สูงกว่า และมีอัตราการลาออกจากโรงเรียนสูงกว่าอีกด้วย จากนั้นอีกสามสิบปีต่อมา
                                                               เป้าหมาย เกิดเป็นความมุ่งมั่นที่จะท�าให้ส�าเร็จตาม                  พบว่าเด็กกลุ่มนี้มีรายได้น้อยกว่า มีปัญหาสุขภาพมากกว่าถึง 3 เท่า ติดยาเสพติดมากกว่า
                                                               เป้าหมาย การตั้งใจที่จะหยุดท�าพฤติกรรมบางอย่าง                      ถึง 3 เท่า มีโอกาสเป็นพ่อแม่เลี้ยงเดี่ยวมากกว่าถึง 2 เท่า และมีประวัติทางอาชญากรรม
                                                               ที่อยากท�า เพื่อเลือกท�าในสิ่งที่ส�าคัญกว่าที่จะน�าเรา              มากกว่าถึง 4 เท่า คนกลุ่มนี้เมื่อโตขึ้นจะมีความสุขน้อยกว่าด้วย การศึกษาทั้งหมดนี้ได้
                                                               ไปสู่เป้าหมาย ดังนั้นสรุปได้ว่ากระบวนการก�ากับ                      ท�าการควบคุมปัจจัยแทรกซ้อนทั้งหมดแล้ว เช่น IQ เศรษฐานะทางสังคม สภาพของ

                                                               ตนเองโดยการควบคุมจากบนลงล่าง (top-down                              ครอบครัว ฯลฯ
                                                               process) และ executive functions นั้นมี                               ดังนั้นความสามารถในการคิดเชิงบริหารและการก�ากับตนเองในเด็กเล็ก (EF/SR)
                                             สมองที่อยู่ใต้
                                             เปลือกสมอง        ความคล้ายคลึงกันมากจนแทบจะเป็นเรื่องเดียวกัน                        จึงมีความส�าคัญในการน�าพาเด็กไปสู่ความส�าเร็จหรือความล้มเหลวในชีวิตเมื่อโตขึ้น
                                                               โดย EF เป็นพื้นฐานส�าคัญในการก่อให้เกิดความ                         ความล้มเหลวในชีวิตเหล่านี้เป็นผลลัพธ์ที่สะสมมาอย่างต่อเนื่องจากความบกพร่องของ
                                                               สามารถในการก�ากับตนเองเมื่อโตขึ้น                                   EF/SR ในเด็กเล็ก ที่ส่งผลต่อพัฒนาการทางอารมณ์สังคม ความสัมพันธ์ที่ไม่ดีกับบุคคล
                                                                                                                                   รอบข้าง ความล้มเหลวทางการเรียน รวมทั้งการไม่ใส่ใจดูแลสุขภาพ








            94                                                                                                                                                                                                                    95
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99