Page 140 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 140

มาใช้ เพื่อให้ครูน�าไปประเมินว่าเด็กมีทักษะความสามารถต่างๆ ตามที่ต้องการหรือไม่
                                     อย่างไร  ไม่ได้ประเมินจากผลการสอบอย่างเดียว แรกๆ ครูจะบอกว่ามีงานเพิ่มอีกแล้ว
                                     แต่หลังจากอธิบายว่าใช้อย่างไร สะดวกแค่ไหน จะช่วยครูได้มากเพียงใด ครูก็ยอมรับ

                                     ท�าได้




                                     ครูคือหัวใจของโรงเรียน



                                       ท�าอย่างไรให้ครูรู้สึกว่าครูคือหัวใจของโรงเรียน วิธีการที่ต้องท�าให้เห็นชัดเจนอย่าง
                                     สม�่าเสมอคือการให้ความส�าคัญกับครู ให้ครูมีส่วนร่วมในการคิด ตัดสินใจ ไม่ใช้ค�าสั่ง

                                     แต่หาวิธีการที่จะท�าให้ครูได้ท�างานร่วมกันอย่างมีความสุข และสนับสนุนครูทุกวิถีทาง
                                                                                                                                     •  พัฒนาครูให้มีความแตกฉานในเรื่องที่จะสอน แม่นย�าในความคิดและเข้าถึง
                                                                                                                                   คุณค่าแท้ของความดี ความงาม ความจริงในเรื่องนั้นๆ
                                       การพัฒนาศักยภาพครู                                                                            •  ให้ความส�าคัญกับการท�า lesson study (การศึกษาในชั้นเรียน) และการ

                                       การสนับสนุนครูที่เป็นรูปธรรม และส่งผลต่อทั้งครูและเด็ก คือการพัฒนาศักยภาพ                   ใช้กระบวนการจัดการความรู้ (KM) เป็นเครื่องมือในการจัดการความรู้ของครูอย่าง
                                     ครู โรงเรียนได้พัฒนาศักยภาพครูด้วยรูปแบบต่างๆ ดังนี้
                                                                                                                                   ต่อเนื่อง สม�่าเสมอ เช่นที่โรงเรียนเพลินพัฒนา ทุกๆ สองภาคการศึกษาในเดือนตุลาคม
                                                                                                                                   และเมษายน จะมีการจัดงาน KM “ชื่นใจ...ได้เรียนรู้” (ภาคครูเพลิน) เพื่อให้ครูทุก
                                       •  จัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อเพิ่มทักษะการท�างานด้านต่างๆ  และการพัฒนา                       ช่วงชั้นได้สรุปความรู้ น�าออกมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน ถอดรหัสความรู้ร่วมกัน เติมเต็ม

                                     จิตใจ เพราะถือหลักว่าถ้าจะสอนให้เด็กคิดเป็นระบบ แก้ไขปัญหาได้ มีจริยธรรม ครู                  ความรู้ซึ่งกันและกัน และรับความรู้จากวิทยากรภายนอก ทุกครั้งที่มีการจัดงาน ครู
                                     ต้องท�าได้ก่อน ถ้าครูท�าไม่ได้ก็จะพัฒนาเด็กไม่ได้ โรงเรียนเชื่อว่าครูคือสภาพแวดล้อม           ทุกช่วงชั้นก็จะเก็บเอาวิธีการไปใช้กับหน่วยวิชาของตัวเอง เป็นการแลกเปลี่ยนความ
                                     ครูคือต้นแบบของความดีงาม จึงเน้นที่การพัฒนาจิตใจครู                                           รู้กันครั้งใหญ่ ได้ยกระดับทั้งโรงเรียนในทุกหน่วยวิชา
                                       •  เชิญนักวิชาการมาบรรยาย อบรม ส่งครูไปรับความรู้อย่างสม�่าเสมอ เช่น                          lesson study ของโรงเรียนเพลินพัฒนาเป็นระบบที่ช่วยพัฒนาครูไปบนหน้างาน

                                     ความรู้เกี่ยวกับสมอง พัฒนาการเด็ก และวินัยเชิงบวก เมื่อครูเข้าใจเรื่องพัฒนาการเด็ก            ของการเรียนการสอนโดยตรง โดยให้ครูคู่วิชาได้วางแผนการสอนด้วยกัน เข้าสังเกต
                                     ธรรมชาติของเด็กมากขึ้นแล้ว ผู้บริหารจะพิจารณาดูว่ามีวิธีการอะไรบ้างที่จะพาครู                 ชั้นเรียนของกันและกัน และทุกสัปดาห์ได้สะท้อนคิดหลังการเรียนการสอนร่วมกัน
                                     ไปสู่เป้าหมายได้ ความรู้ที่ครูรับมาใหม่จะประยุกต์ใช้กับเด็กอย่างไร                            และได้พบครูโค้ชเพื่อประเมินผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับนักเรียน เพื่อน�าข้อมูลที่ได้ไป
                                         เมื่อต้องมีการอบรมใดๆ ปัญหาที่อาจพบได้คือครูบอกว่าไม่มีเวลา ท�าให้ครูไม่                  ปรับแผนการเรียนรู้ที่จะเกิดขึ้นต่อไป และขั้นตอนสุดท้ายคือการ KM ของครูที่สอน

                                     อยู่กับเด็ก ผู้อ�านวยการจึงใช้หลัก empowerment ใช้หลักเชิงบวกเหมือนที่ใช้กับเด็ก              หน่วยวิชาเดียวกันทั้งช่วงชั้น
                                     คือ ท�าอย่างไรไม่ให้ครูรู้สึกว่าถูกบังคับ แต่จะให้เหตุผลว่าท�าไมต้องไป ครูอยู่เฉยไม่ได้         PLC, Lesson Study หรือวง KM ที่ท�ากันเป็นประจ�า จะท�าให้ครูมั่นใจได้ว่า
                                     เพราะอะไร จากนั้นให้ครูคิด ตกลงกันเองว่าควรจะอบรมหัวข้อใด เมื่อไร ผู้อ�านวยการ                จะไม่มีใครถูกโดดเดี่ยวหรือถูกทิ้งไว้ เพราะกระบวนการเหล่านั้นท�าให้ครูมีเพื่อนร่วม
                                     มีหน้าที่กระตุ้นหรือสร้างสภาพแวดล้อมให้ครูได้ถกเถียง คิด วางแผน เมื่อได้ข้อสรุป               คิด ร่วมเรียนรู้ ร่วมสังเกต ร่วมสะท้อนผล ทุกข์หรือสุขก็สามารถแลกเปลี่ยน แบ่งปัน

                                     ว่าต้องการอะไรแล้วก็สนับสนุนอย่างเต็มที่
                                                                                                                                   กันได้






            140                                                                                                                                                                                                                  141
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145