Page 149 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 149

ฉันทะเป็นทั้งจุดเริ่มต้นและเป้าหมาย
                            นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เปรียบเทียบเรื่องอิทธิบาท 4 กับทักษะสมอง EF
                          ว่า ฉันทะเป็นทั้งจุดตั้งต้นและจุดจบ ถ้ามองจากมุมของทักษะสมอง EF ฉันทะเป็น

                          เป้าหมาย เมื่อจะเริ่มเรียนรู้หน่วยวิชาอะไร ครูต้องใช้เวลาส่วนใหญ่เพื่อท�าให้เด็ก
                          มีเป้าหมายก่อน เริ่มในชั่วโมงแรกๆ ด้วยการโน้มน้าว ถามความต้องการว่าเด็กๆ
                          อยากเรียนอยากรู้อะไร เพื่ออะไร เป้าหมายของการเรียนคืออะไร จากนั้นเมื่อเริ่มเรียน
                          เด็กจะใช้ฉันทะกับงานที่อยู่ตรงหน้า ส�าเร็จเมื่อไรจะกลายเป็นเป้าหมายของงานชนิดนั้น
                          การที่โรงเรียนเพลินพัฒนาให้เด็กเขียนลายไทย จะน�าไปสู่เป้าหมายระยะยาวต่อไป

                          ดังเช่นเด็กคนหนึ่งที่ชอบเขียนลายไทย บอกว่าต่อไปจะไปเล่นโขน หรือไปสู่งานวิศวกร
                          โดยเริ่มที่ลายไทยก็อาจเป็นไปได้
 สร้างฉันทะที่ทรงพลัง
                            “ฉันทะเป็นทั้งจุดเริ่มต้นที่ต้องท�า และเป็นทั้งเป้าหมาย เรามักจะบ่นกันว่า

                          เด็กไทยไม่มีเป้าหมาย ไม่รู้จะเรียนไปท�าไม ดังนั้น เดือนแรกของภาคการศึกษาจึงส�าคัญ
     สุนทรียสัมผัสและการเข้าถึง “คุณค่า” เป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างอิทธิบาท 4    ในหนังสือทักษะศตวรรตที่ 21 ก็พูดเรื่องฉันทะ
 ในการเรียน การเอาเรื่องคุณค่าใส่เข้าไปในสิ่งที่เรียนจะเป็นจุดตั้งต้น เป็นแรงบันดาลใจ     วิริยะ ตรงกับทักษะสมอง EF ด้าน focus การจดจ่อยาวนาน การเขียนลายไทยนั้น
 เป็นแรงขับที่ทรงพลัง ยิ่งถ้าบวกกับการฝึกสติเข้าไปด้วย จะสามารถสร้างแรงจูงใจที่มี   ใช้เวลานานมาก เมื่อครูพาเด็กออกไปสู่โลกแห่งความเป็นจริงแล้วพบว่า ในวัดๆ หนึ่งการ
 น�้าหนัก เป็นแรงขับแรงผลักที่มากพอจะท�าให้เกิดฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา ได้   เขียนลายไทยใช้เวลานานยิ่งกว่า เพราะฉะนั้นการเรียนหนังสือต้องเรียน 12 ปี จะเรียน

     นอกจากนั้น สุนทรียสัมผัสและการเข้าถึง “คุณค่า” ความดี ความงาม ความจริง    หมอหรือจะเล่นโขนก็แล้วแต่ก็นานพอกันนั่นแหละ เด็กต้องมุมานะท�าให้ได้ก็แล้วกัน
 ของสิ่งที่เรียนรู้ จะก่อให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ ผลลัพธ์คือ เกิดทักษะสมอง EF เกิดสมรรถนะ    จิตตะ ต้องใช้ working memory เริ่มที่มีความรู้สึกเป็นเจ้าของงาน แล้วน�า
 ของชีวิตในการพึ่งตนเอง เกิดความเป็นเจ้าของในการเรียนรู้ และเกิดสมรรถนะกับ   ประสบการณ์ที่เรียนรู้ (working memory) มาลงมือท�า ไม่มีการสอน เด็กจะไม่ทอดทิ้ง
 สิ่งที่เรียน             งานจนท�างานลุล่วง

     ความดี ความงาม ความจริงของสิ่งที่เรียนรู้ ถ้าจะท�าให้เกิดกับเด็กได้อันดับแรกนั้น    วิมังสา คือ inhibitory control และ cognitive flexibility ซึ่งเป็นการคิด วิเคราะห์”
 จะต้องเกิดกับครูก่อน ครูต้องเข้าใจในหัวใจของเรื่องที่จะสอนก่อน แล้วครูถึงจะมองเห็น
 ว่าจะน�าลงไปสู่การเรียนรู้ในชั้นเรียนได้อย่างไร
     และครูต้องไม่ใช่พียงเป็นผู้น�าความรู้ไปสู่ตัวเด็ก หรือเป็นสื่อกลางน�าความรู้ ครูต้อง

 สร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นกับตัวผู้เรียนให้ได้  เพื่อให้ผู้เรียนเข้าถึงและมอง
 เห็นคุณค่าหลักในเรื่องความดี ความงาม ความจริงของสิ่งที่จะเรียนรู้ และเมื่อสัมผัส
 คุณค่านี้ได้ ผู้เรียนจะเกิดความเป็นเจ้าของการเรียนรู้






 148                                                                                                         149
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154