Page 165 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 165
พร้อมในระดับหนึ่ง แต่เด็กแต่ละคนมีไม่เท่ากันและต้องได้รับการฝึกฝนเน้นย�้า ท�าซ�้า เพื่อ ปัจจัยภายนอกหรือปัจจัยท�าลายล้าง
จะได้เป็นทักษะติดตัวต่อไป ความสามารถนี้จ�าเป็นมากต่อการเรียนรู้ในระดับประถมศึกษา ปัจจัยภายนอกจะส่งผลตรงข้ามกับปัจจัยภายในคือเป็นปัจจัยที่ท�าลายล้าง มีผลต่อ
เพราะเป็นการเรียนรู้ที่เป็นทางการ เด็กต้องมีความรับผิดชอบ รู้หน้าที่ และก�ากับตนเอง การปรับตัวของเด็กในช่วงรอยเชื่อมต่อ ในเด็กวัย 5-7 ปี ซึ่งร่างกายเองก็ก�าลังปรับตัวและ
ให้ท�าสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้บรรลุถึงจุดประสงค์ในเวลาที่ก�าหนด ซึ่งถ้าเด็กมีทักษะในการก�ากับ ยังไม่ค่อยเข้าใจเรื่องการเปลี่ยนแปลงทั้งเรื่องของตัวเองและเรื่องสภาพแวดล้อมมากนัก
ตนเองมากก็จะได้เปรียบในการเรียนรู้มาก แต่กลับมีปัจจัยอื่นมาขัดขวาง จึงเกิดเป็นการท�าลายล้างพัฒนาการของเด็กอย่างสิ้นเชิง
2. ความสามารถและการมีกลยุทธ์ในการจดจ�า (memory capacity and ปัจจัยท�าลายล้างได้แก่
strategies)เป็นวัยที่มีความฉลาดในการที่จะใช้กลยุทธ์ในการจดจ�าหลากหลายขึ้น เมื่อมี
ความสามารถและมีกลยุทธ์ในการจดจ�ามากขึ้น ก็จะเอื้อให้เรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้มากขึ้น และ 1. ความคาดหวัง เป็นปัจจัยท�าลายล้างที่มีอิทธิพลมากที่สุด ความคาดหวังในที่นี้
ส�าหรับค�าว่า “การจดจ�า” ในที่นี้ไม่ใช่การท่องจ�า แต่หมายถึงการสร้างอะไรบางอย่างที่ เป็นความคาดหวังของผู้ใหญ่เกี่ยวกับทักษะและความสามารถของเด็กที่ควรจะมีและควร
process ในสมองแล้วเอาไปท�าอะไรต่อ ซึ่งถ้ามีมากจะยิ่งได้เปรียบ เป็นการเพิ่มโอกาสใน จะท�าได้ในช่วงรอยต่อ เช่น ทักษะทางวิชาการ ทักษะทางสังคม ทักษะในการดูแลและ
การเรียนรู้ของเด็ก ช่วยเหลือตนเองเบื้องต้น คุณลักษณะที่พึงประสงค์ต่างๆ และการมีระเบียบวินัย (Chan,
3. ทักษะการสะท้อนตนเอง (self-reflective skill) เป็นผลสืบเนื่องมาจากความ 2012) ความคาดหวังเหล่านี้ถือเป็นความเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้น ที่ใส่เข้าไปในช่วงรอยต่อ
สามารถทางด้านภาษา ภาษาในเด็กวัย 6 ปีขึ้นไปจะซับซ้อนมากขึ้น มีจริตในการใช้ภาษา ซ�้าร้ายยังสวนทางกับปัจจัยภายใน ซึ่งถ้าเด็กท�าได้จะส่งผลดีกับเด็ก แต่ถ้าท�าไม่ได้จะเกิด
มากขึ้น รู้จักเลือกเสียงเลือกค�าว่าควรจะใช้กับใครในสถานการณ์ใดจึงจะได้ผลที่ต้องการ ความรู้สึกติดลบทันที
การที่เด็กมีภาษาดีขึ้นนี้ท�าให้สามารถสะท้อนความรู้สึกนึกคิดความต้องการตนเองได้ดีขึ้น
มาก ซึ่งข้อนี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากในการสื่อสารความรู้สึก ความต้องการ แต่ครูประถม 2. ระบบการเรียนรู้ตามระดับการศึกษา เนื่องจากระบบการศึกษาของไทย ซึ่ง
บางคนยังไม่เห็นถึงทักษะด้านนี้ของเด็ก ดังนั้นเวลาเห็นเด็กมีปัญหามักจะไม่ถามเด็กว่า ต่างกันอย่างมากในหลายมุมมอง ได้ท�าให้โลกการเรียนรู้ในวัยอนุบาลกับประถมศึกษา
มีปัญหาจริงหรือไม่ หรือมีปัญหาอะไร แต่จะใช้วิธีโทร.หาพ่อแม่เด็ก ทั้งๆ ที่เด็กสามารถ กลายเป็นโลกคนละใบ
สื่อสารความรู้สึกและประเมินตัวเองได้ในระดับหนึ่งแล้ว
4. ทักษะการคิดอย่างมีเหตุผลและมีตรรกะ (reasoning and logical thinking
skills) เป็นวัยที่มีเหตุมีผล ไม่ยึดตัวเองเป็นศูนย์กลางมากเหมือนช่วงปฐมวัย เมื่อการยึด
ตัวเองเป็นหลักน้อยลง จะมองสิ่งต่างๆ รอบตัวอย่างมีเหตุผลมากขึ้น และมีทักษะที่เรียก
ว่า conservative หรือการคงสภาพเดิมได้แล้ว
5. ความสามารถในการเข้าใจทัศนะผู้อื่น (perspective-taking ability) เริ่มมี
ความสามารถในการรับรู้และท�าความเข้าใจทัศนะหรือมุมมองของคนอื่น ตลอดจนอารมณ์
และความรู้สึกนึกคิดของตนเองและผู้อื่นได้มากขึ้น ซึ่งมีผลต่อการเข้าสังคม ท�าให้สามารถ
ท�างานร่วมกับผู้อื่นได้ รู้จักไว้ใจผู้อื่น ไว้ใจเพื่อนและครู
164 165