Page 167 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 167

ขั้นของพัฒนาการทางด้านจิตสังคม


                ภาพในหน้า 166 อธิบายทฤษฎี Psychosocial Development (พัฒนาการจิตสังคม)
              ของ Erick Erickson ซึ่งบอกว่ามนุษย์จะพัฒนาได้ดีต้องมี 2 ส่วนที่ประสานกัน คือความ
              ต้องการด้านจิตใจ กับความคาดหวังทางสังคม (psychosocial) จะต้องประสานกันให้ดี
 Stages of Psychosocial  Development
 Infant       มนุษย์ต้องผ่านด่านนี้ โดยต้องประสานความต้องการทางด้านจิตใจกับความคาดหวังของ
 Toddler      สังคมโดยรอบให้ได้ตั้งแต่ขวบปีแรก ถ้าได้รับการเลี้ยงดูมาดี ประสานความต้องการด้าน
 Pre-schooler  Integrity vs Despair  จิตใจกับความคาดหวังทางสังคมได้ พัฒนาการด้านจิตสังคมจะเป็นบวก ถ้าได้รับการเลี้ยง

 Grade-schooler  Generativity vs Stagnation  ดูไม่ดีเท่าที่ควร พัฒนาการด้านจิตสังคมจะเป็นไปในทางลบ ซึ่งในแต่ละขั้นของพัฒนาการ
 Teenager     นั้นจะมีช่วงวิกฤติอยู่ ถ้าไม่สามารถเอาชนะหรือผ่านไปได้จะเป็นปัญหาในการเอาชนะ
 Young Adult  Intimacy vs Isolation  ช่วงวิกฤติในขั้นต่อๆ ไปด้วย และท�าให้เกิดความบกพร่องทางสังคม เป็นปัญหาทางจิตใจ
 Middle-age Adult  Identity vs Role Confusion  มีผลต่อพฤติกรรมและบุคลิกภาพในภายหลัง เช่นในขั้นที่เรียกว่า  Autonomy vs. Shame
 Older Adult  Industry vs Inferiority  & Doubt นั้นอธิบายว่า ธรรมชาติของเด็กวัยหนึ่งขวบขึ้นไปต้องการเป็นตัวของตัวเอง
 Initiative vs Guilt  Increase in Complexity  อยากท�าอะไรด้วยตัวเอง เพราะร่างกายเติบโตแล้ว แต่ถ้าไม่ได้รับการสนับสนุนจากคน

 Autonomy vs Shame & Doubt  รอบข้าง คือไม่ปล่อยให้ท�าอะไรด้วยตัวเอง จะเติบโตไปด้วยความสงสัยในศักยภาพ

 Trust vs Mistrust  ของตัวเอง ละอายใจในตัวเอง ไม่มั่นใจในตัวเอง ศักยภาพของเด็กก็จะออกมาเป็นด้านลบ
              (ผศ.วิริยาภรณ์ อุดมระติ)

 Proposed by Erik Erikson
                ส�าหรับเด็กวัยประถม อยู่ในขั้นของ Industry vs. Inferiority ช่วงวัยนี้เรียกกันว่าเป็น
              วัย Industry เนื่องจากศักยภาพร่างกายพร้อมแล้ว จึงขยันขันแข็ง อยากค้นคว้า อยากรู้
              อยากเห็น ท�าสิ่งต่างๆ อย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย แต่หากไม่ได้รับการสนับสนุนให้ท�า ให้ค้นคว้า
              ให้ลอง ผู้ใหญ่เข้มงวด ควบคุม ก็จะท�าให้เด็กคิดว่าเขาไม่เคยท�าอะไรประสบความส�าเร็จเลย
 Integrity vs Despair  & society
              ดังนั้นแทนที่จะรู้สึกว่าตัวเองท�าได้ท�าส�าเร็จ ก็จะกลายเป็นตรงข้ามคือมีปมด้อยในใจ
 Generativity vs Stagnation  & kids
              (Inferiority) ขั้นของ Industry นี้ส�าคัญมาก เป็นขั้นที่เด็กต้องได้รู้แล้วว่าตัวเองมีความสามารถ
 Intimacy vs Isolation  & partner  อะไรซึ่งจะเริ่มพัฒนาเป็น self-concept ของตัวเองต่อไป (ผศ.วิริยาภรณ์ อุดมระติ)

 Identity vs Identity diffusion  and peers
                อีริคสันบอกว่า สิ่งที่เป็นด้านบวกที่อยู่ข้างหน้า เช่น Trust (Trust vs. Mistrust) นั้นเป็น
 Industry vs Inferiority  and school
              สิ่งที่จะต้องพัฒนา เพราะเป็นสัจจะของมนุษย์ทุกคน ถ้าท�าให้เด็กคนหนึ่ง trust ได้ จะพัฒนา
 Autonomy vs Shame & Doubt  and other family  ให้เด็กเป็นคนที่มีความหวัง (hope) เมื่อมีความหวังก็จะเกิด will มีความมุ่งมั่นตั้งใจต่อไป

 Initiative vs Guilt  and sibling  เมื่อก้าวขึ้นไปสู่ขั้นของ autonomy ที่มีความรู้สึกว่าเป็นอิสระ สามารถท�าอะไรด้วยตัวเองได้
              แล้วเมื่อพัฒนาไปสู่ขั้น initiative มีความริเริ่มสร้างสรรค์แล้ว ก็จะมีเป้าหมายมีจุดมุ่งหมาย
 Basic trust vs Mistrust  Parents
              ของตัวเอง initiate อย่างมีเป้าหมายต่อไป (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร)
 Individual Change     Increasing complexity  Environmental Change


 source: http://emotional-intelligence-training.weebly.com/8 stages-arrested-social-intelligence-development.html.


 166                                                                                                         167
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172