Page 97 - Executive Functions ในเด็กวัย 7-12 ปี
P. 97

พัฒนาการของ EF/SR

   พัฒนาการของ EF/SR เริ่มตั้งแต่เกิดในขวบปีแรกและพัฒนาอย่างมากในช่วงอายุ

 3-5 ปี ทักษะสมอง EF อย่างง่ายเป็นพื้นฐานในการพัฒนาทักษะสมอง EF ที่ซับซ้อน
 และยากยิ่งขึ้นไป EF/SR จะพัฒนาอย่างต่อเนื่องในอัตราที่ลดลงในช่วงประถม และจะ  •  สามารถแก้ปัญหาอย่างมีสติได้
 พัฒนาอย่างมากอีกช่วงหนึ่งคือช่วงวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ตอนต้น  •  เปลี่ยนความสนใจจดจ่อจากกฎเกณฑ์หนึ่ง

   ในการสร้างวงจรประสาทที่เกี่ยวข้องกับ EF/SR นั้น ในช่วงขวบปีแรกสมองส่วน  เด็กอายุ 5 ปี    ไปยังอีกกฎเกณฑ์หนึ่งได้
 หน้าสุดจะค่อยๆ เชื่อมโยงกับสมองส่วนอื่นๆ ที่อยู่ทางด้านหลัง วงจรประสาทเหล่านี้  ควรจะมีการพัฒนา   •  สามารถยับยั้งพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมและท�าเป็นอัตโนมัติได้
 เกิดขึ้นและค่อยๆ พัฒนาจนหลอมรวมเชื่อมโยงกันมากขึ้น จากนั้นในช่วงวัยรุ่นจนถึง  EF/SR มากขึ้นไปอีก   •  สามารถท�างานที่มีหลายขั้นตอนได้
 วัยผู้ใหญ่ตอนต้น วงจรประสาทเหล่านี้จะถูกปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นอีกครั้ง   เด็กวัยนี้ควร...  •  สามารถวางแผนงานโดยคิดไตร่ตรองอย่างรอบคอบได้
 ก่อนที่จะเสร็จสิ้นกระบวนการพัฒนาสมองที่เกี่ยวข้องกับการคิดที่น�าเราไปสู่ความส�าเร็จ
                                                  •  รู้จักคิดในบริบทของคนอื่นได้

 ปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการของ EF/SR

   ปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการของ EF/SR คือ ปัจจัยด้านพันธุกรรม สิ่งแวดล้อม

 ประสบการณ์ การได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน ความไม่เครียด การมีปฏิสัมพันธ์
 ทางสังคมที่ดีระหว่างเด็กกับคนที่เลี้ยงดู พ่อแม่ที่เอาใจใส่ดูแลลูกด้วยความรักความ
 เมตตา จะช่วยให้เด็กพัฒนาทักษะสมอง EF ได้อย่างเต็มศักยภาพ ในทางตรงกันข้าม     อย่างไรก็ตาม ทักษะเหล่านี้จะค่อยๆ ก่อเกิดขึ้นได้ โดยต้องอาศัยการฝึกฝน
 ความยากจน การใช้ความรุนแรงในการสอนเด็ก สิ่งแวดล้อมที่ขาดปฏิสัมพันธ์ทาง   อย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้นสิ่งแวดล้อมและประสบการณ์ของเด็กก็มีผลอย่างมาก

 สังคมที่ดี การใช้สารเสพติด ล้วนส่งผลเสียต่อการพัฒนาด้านอารมณ์สังคม การเรียนรู้   ต่อการพัฒนาทักษะการคิดและการก�ากับตนเอง
 และการคิดของเด็ก และส่งผลลบต่อพัฒนาการด้าน EF/SR ของเด็กด้วย    เมื่อเด็กอายุ 7 ปี จะมีความสามารถในการคิดและก�ากับตนเองมากขึ้น เนื่องจาก
                      วงจรประสาทที่ช่วยส่งเสริมให้เด็กมีทักษะ EF/SR จะมีลักษณะคล้ายคลึงกับที่พบใน
                      ผู้ใหญ่แล้ว แต่ยังท�างานไม่มีประสิทธิภาพเท่าผู้ใหญ่ จะต้องมีการปรับปรุงให้ท�างานได้มี

                      ประสิทธิภาพมากขึ้นในช่วงวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ตอนต้น
 •  เด็กควรสามารถยับยั้งควบคุมตนเองให้มีสมาธิจดจ่อไม่วอกแวก

 พัฒนาการด้าน     ง่ายกับสิ่งที่มายั่วยวนให้เสียสมาธิ   พ่อแม่และครูจะช่วยส่งเสริม EF/SR ของเด็กได้อย่างไร
 EF/SR นั้น    •  เด็กควรจะมีความจ�าขณะท�างานที่ดีตามวัย สามารถจ�ากฎเกณฑ์
 สิ่งที่เราคาดหวังเมื่อเด็ก    ง่ายๆ สองอย่างไว้ในใจ    ในปี 2016 Prof. Adele Diamond ได้ให้ความเห็นไว้ว่า EF/SR สามารถพัฒนา
 อายุ 3 ปี คือ...  •  เด็กควรจะมีความคิดยืดหยุ่นในการท�ากิจกรรมที่มีกฎเกณฑ์อย่างน้อย   ได้ แต่ผลลัพธ์ที่ได้จากการฝึกฝนมักจะเห็นเพียงบางด้าน คือเฉพาะด้านที่ได้รับการฝึก

    2 อย่างที่ต่างกันได้ และตัดสินใจตอบให้ตรงกับกฎเกณฑ์ได้  มากกว่า จึงจะส่งผลต่อ EF/SR ในภาพรวม คือฝึกอะไรก็ได้แค่อย่างนั้น และหากเรา
                      ฝึกแบบง่ายๆ ก็จะไม่เห็นผลเท่าไรนัก หากจะให้เห็นผลของการฝึกที่ชัดเจนจะต้องฝึก








 96                                                                                                           97
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102