หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
สาระน่ารู้ EF
เกี่ยวกับ EF
EF สำหรับพ่อ-แม่
EF สำหรับคุณครู
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
บทความจากนักวิชาการ
งานวิจัย EF
ร้านหนังสือ
ซื้อสินค้า
แจ้งชำระเงิน
ดาวน์โหลด
EF E-Book
เอกสาร และสื่อ
Sign in
Welcome!
Log into your account
ชื่อผู้ใช้ของคุณ
รหัสผ่านของคุณ
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
Create an account
Sign up
Welcome!
ลงทะเบียนสำหรับบัญชี
อีเมล์ของคุณ
ชื่อผู้ใช้ของคุณ
รหัสผ่านจะถูกอีเมล์ถึงคุณ
Password recovery
กู้คืนรหัสผ่านของคุณ
อีเมล์ของคุณ
ค้นหา
Sign in
ยินดีต้อนรับ! เข้าสู่ระบบบัญชีของคุณ
ชื่อผู้ใช้ของคุณ
รหัสผ่านของคุณ
Forgot your password? Get help
Create an account
Create an account
Welcome! Register for an account
อีเมล์ของคุณ
ชื่อผู้ใช้ของคุณ
รหัสผ่านจะถูกอีเมล์ถึงคุณ
Password recovery
กู้คืนรหัสผ่านของคุณ
อีเมล์ของคุณ
รหัสผ่านจะถูกอีเมล์ถึงคุณ
สอบถามการใช้งานระบบ?
(02)913 - 7555 กด 4104
ฝ่ายบริการสมาชิกเว็บไซต์
Sign in / Join
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
สาระน่ารู้ EF
เกี่ยวกับ EF
EF สำหรับพ่อ-แม่
EF สำหรับคุณครู
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
บทความจากนักวิชาการ
งานวิจัย EF
ร้านหนังสือ
ซื้อสินค้า
แจ้งชำระเงิน
ดาวน์โหลด
EF E-Book
เอกสาร และสื่อ
Search
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
สาระน่ารู้ EF
เกี่ยวกับ EF
EF สำหรับพ่อ-แม่
EF สำหรับคุณครู
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
บทความจากนักวิชาการ
งานวิจัย EF
ร้านหนังสือ
ซื้อสินค้า
แจ้งชำระเงิน
ดาวน์โหลด
EF E-Book
เอกสาร และสื่อ
Search
หน้าแรก
ผู้เขียน
โพสต์ของ RLG-EF Admin
Stay Connected
69,770
แฟนคลับ
ชอบ
7,150
สมาชิก
บอกรับเป็นสมาชิก
RLG-EF Admin
229 โพสต์
39 ความคิดเห็น
News
สรุป Mind Map จากงาน “ความรู้พร้อมใช้จากเวทีวิจัย EF พ.ศ. 2561-2565”
30/03/2022
สรุปความรู้พร้อมใช้ในรุปแบบของ Mind Map จากงาน “ความรู้พร้อมใช้จากเวทีวิจัย EF พ.ศ. 2561-2565” ระหว่างวันที่ 7-8 เมษายน 2565 ที่ทุกท่านรอคอย สามารถ คลิกขวาที่ภาพ และ บันทึกไฟล์ หรือสามารถดาวน์โหลดไฟล์ pdf ได้ตามลิงค์ด้านล่าง
อ่านเพิ่มเติม
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง” #3
29/03/2022
สารสื่อประสาทกับความจำและการเรียนรู้ ความจำและการเรียนรู้เป็นกระบวนการทำงานชั้นสูงของสมองมนุษย์ที่มีความเชี่ยวชาญ และซับซ้อนกว่าสิ่งมีชีวิตทุกชนิด กระบวนการนี้มีความเกี่ยวข้องกันอย่างมากระหว่างสารสื่อประสาทกับการที่เซลล์ประสาทได้รับการกระตุ้นความสนใจต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การได้ประสบการณ์ การจัดเก็บและการดึงข้อมูลของแต่ละประสบการณ์ขึ้นมาใช้นั้น ล้วนเกี่ยวข้องกับสารสื่อประสาทซึ่งถูกสร้างขึ้นบริเวณปลายประสาท เพื่อเป็นตัวนำสัญญาณประสาทจากเซลล์ประสาทหนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง หรือเชื่อมโยงระหว่างเซลล์ประสาทกับเซลล์กล้ามเนื้อ โดยการส่งสัญญาณจะเกิดขึ้นบริเวณรอยต่อระหว่างเซลล์เรียกว่า ไซแนปส์ (Synapse) กระบวนการเชื่อมต่อกันของไซแนปส์เกิดขึ้นเมื่อเซลล์ประสาทในสมองได้รับสัญญานจากประสาทสัมผัสทั้งห้า ทำให้การทำงานของระบบประสาทเชื่อมโยง “ข้อมูล” ที่สมองได้รับ เกิดเป็นวงจรประสาทอย่างความสมบูรณ์ เกิดเป็นเครือข่าย ความจำและการเรียนรู้ เพื่อตอบสนองต่อสิ่งที่เข้ามากระทบ โดยมีสารสื่อประสาทที่สำคัญกับการเรียนรู้ 3 ชนิด คือ อะซิทิลโคลีน (Acetylcholine) ซึ่งทำหน้าที่ในเรื่องความจำ...
อ่านเพิ่มเติม
News
การอบรมonline สำหรับภาคีครือข่ายที่ทำงานด้านเด็กเเละเยาวชนในหัวข้อ“ความรู้ฐานราก 3 มิติ เพื่อการพัฒนาทักษะสมอง EF”
28/10/2021
ตรวจรายชื่อผู้เข้าร่วม การอบรมonline สำหรับภาคีครือข่ายที่ทำงานด้านเด็กเเละเยาวชนในหัวข้อ“ความรู้ฐานราก 3 มิติ เพื่อการพัฒนาทักษะสมอง EF”
อ่านเพิ่มเติม
สาระ EF
Self ที่ดี ตัวตั้งต้นสมองและสุขภาพจิตที่ดี
21/04/2021
จากประสบการณ์เป็นจิตแพทย์มายาวนาน นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ พบว่าอุบัติการณ์หนึ่งที่พบมากขึ้นในเด็กวัยรุ่นคือการกรีดข้อมือ พร้อมอธิบายว่า การกรีดทำให้เจ็บ ได้เห็นเลือด เป็นการพิสูจน์ว่าตัวเองมีตัวตนและกล่าวว่าพฤติกรรมที่เป็นปัญหา เช่น ฝ่าไฟแดง ติดเอดส์ หรือกรีดข้อมือ เป็นเรื่องธรรมดาสำหรับเด็กวัยรุ่นที่ไม่มีตัวตน“ไม่มีตัวตนก็ไม่มีตัวเองให้รัก” สาเหตุมาจากพื้นฐานชีวิตในวัย 3 ขวบปีแรกที่เลวร้าย เด็กบางคนถึงขั้นกรีดตัวเองทุก3 เดือน ซึ่งรักษาได้ยากมากเพราะฉะนั้น 3 ปีแรกของชีวิตจึงสำคัญมากในช่วงเวลานี้เด็กมีงานสำคัญคือสร้างตัวเอง หรือตัวตน (self) โดยมีตัวเองเป็นศูนย์กลาง (self-centered)...
อ่านเพิ่มเติม
สาระ EF
แม่ที่มีอยู่จริง
21/04/2021
นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ จิตแพทย์และนักเขียนชี้ว่า “แม่ที่มีอยู่จริง” เป็นต้นทางของพัฒนาการที่ก้าวหน้าของลูกและสร้างอาวุธลับที่พ่อแม่ใช้พิชิตลูกวัยรุ่น ใน12 เดือนแรกของชีวิต ทารกมีหน้าที่ “ไว้ใจโลก” และ “ไว้ใจพ่อแม่” ก่อนจะเติบโตแยกออกไปจากอกพ่อแม่ ถ้าเด็กไม่ไว้ใจโลกหรือรู้สึกว่าโลกไม่น่าไว้ใจ พัฒนาการจะหยุดหัฒนา ไม่ก้าวต่อไป เช่น ถ้าทารกคลาน นั่ง ยืน แล้วล้ม ร้องไห้ แล้วไม่มีคนสนใจมาปลอบมาอุ้ม ทารกจะเกิดความรู้สึกไม่ไว้ใจ เมื่อไม่ไว้ใจก็จะไม่กล้าพัฒนาก้าวต่อไป ไม่ยืน...
อ่านเพิ่มเติม
สาระ EF
สร้าง Self ที่ดีให้เด็กประถม
21/04/2021
ปกนิตยสารไทม์เมื่อ 3 ปีก่อน มีภาพเด็กผู้หญิงนอนแล้วถ่ายภาพเซลฟี่ตัวเอง พร้อมแคปชั่น “me and my generation” หมายความว่าเด็กในรุ่นนี้ให้ความสำคัญกับภาพลักษณ์และการปรากฏตัวต่อคนรอบข้าง นับว่าเป็นเรื่องดีที่เด็กยุคนี้มีแนวโน้มมุ่งความสนใจที่ตัวตน เป็นต้นทุนที่ดีมากในการที่จะฟูมฟักเรื่อง self ให้เข้มแข็ง ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยที่ว่า “เป้าหมายของประถมศึกษาที่ควรจะเป็นในยุคหลัง 2015 คือต้องให้เด็กได้พึ่งพาตัวเอง ทำอะไรได้ด้วยตัวเอง” ซึ่งมีฐานมาจาก self ที่เข้มแข็งนั่นเอง Self คืออะไร เด็กทุกคนเติบโตขึ้นมาโดยควรต้องรู้จักตัวตนของตัวเอง รู้ว่าตัวเองคือใครและจะไปยืนอยู่ตรงไหนในโลก...
อ่านเพิ่มเติม
สาระ EF
จะทำให้เด็กวัยเรียน “เรียนรู้อย่างมีความหมาย” ได้อย่างไร
21/04/2021
เรารู้กันดีว่า เด็กๆ จะเรียนรู้ได้ดีหากมีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย(meaningful learning)แต่ยังอาจไม่ชัดเจนว่าการเรียนรู้อย่างมีความหมายนั้นเป็นอย่างไร มีประโยชน์ต่อเด็กอย่างไร และควรใช้วิธีการใด ถาม : การเรียนรู้อย่างมีความหมายคืออย่างไร ตอบ :การเรียนรู้อย่างมีความหมาย คือการเรียนรู้ที่รู้ว่าจะเรียนรู้ไปเพื่ออะไร เชื่อมโยงกับตัวผู้เรียน ผู้เรียนรู้ว่าสิ่งที่เรียนรู้จะมีผล จะกระทบต่อตัวเขาอย่างไรเรียนรู้แล้วสามารถที่จะเชื่อมโยงกับชีวิตจริงกับตัวเองได้ นำมาจัดการตัวเองได้ จัดการกับสภาพแวดล้อมได้ รู้ว่าเมื่อเรียนรู้มาแล้วจะเอาความรู้นั้นไปทำอะไรต่อ การเรียนรู้ที่มีความหมายจึงมีความหมายใน 2 มิติ คือความหมายต่อตัวเขาเอง และต่อสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเขา ในบ้าน นอกบ้าน...
อ่านเพิ่มเติม
สาระ EF
การเตรียมเด็กประถมให้เป็น Active Citizen หรือพลเมืองที่เข้มแข็ง
20/04/2021
คำว่า “การเป็นพลเมืองดี พลเมืองที่เข้มแข็ง” อาจฟังดูห่างไกลจากเด็ก เป็นนามธรรมที่เด็กเล็กไม่น่าจะเรียนรู้เข้าใจได้ แต่โดยธรรมชาติพัฒนาการแล้ว เด็กในวัยประถม หน้าต่างแห่งโอกาสของการปลูกฝัง ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม สำหรับ กำลังเปิด เพราะถึงวัยที่เด็กเริ่มรับรู้เหตุผล ไม่เอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง ดังนั้น ผู้ใหญ่ต้องฉวยโอกาสนี้ปลูกฝังคุณลักษณะที่ดีให้เด็ก ให้เด็กได้เรียนรู้ social norm โดยปรับวิธีการปลูกฝังไปกับบริบทรอบตัวเด็กให้สอดคล้องกับวัย และทำให้เป็นรูปธรรม เช่น การเป็นพลเมืองดีคือการไม่ทำให้เพื่อนเสียใจ...
อ่านเพิ่มเติม
1
2
3
...
29
หน้า 1 ของ 29
- Advertisement -
Latest Articles
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 10): สมองเด็กในภาวะสงคราม
19/05/2022
สมองเด็กในภาวะสงคราม สมองของเด็กประมาณ 90 % พัฒนาในช่วงอายุ 5 ขวบ นั่นหมายความว่า เด็กคนหนึ่งที่จะเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ จะเป็นคนเช่นไรนั้น ประสบการณ์ชีวิตตั้งแต่เกิดมาถึง 5 ขวบมีบทบาทสำคัญในการกำหนดความสามารถในการเรียนรู้ ทักษะการทำงานของสมองขั้นสูง (Executive Function: EF) สุขภาพทั้งทางกายและใจ รวมทั้งความสำเร็จในชีวิตที่เหลือทั้งหมด เด็กที่เกิดและเติบโตขึ้นท่ามกลางภาวะสงคราม เช่นที่เกิดในยูเครนขณะนี้ หรือเกิดในช่วงสงครามซีเรียและสงครามอื่นๆ ทั่วโลก ต่างมีประสบการณ์ที่เลวร้ายในช่วงต้นของชีวิต ทั้งประสบการณ์ความรุนแรงโดยตรงที่เจอกับตนเอง...
อ่านเพิ่มเติม
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 9) : กิจกรรมฝึกฝน EF ในเด็กวัย 18-36 เดือน
19/05/2022
กิจกรรมฝึกฝน EF ในเด็กวัย 18-36 เดือน เด็กวัยขวบครึ่งเริ่มพูดได้ไปจนถึงอายุ 3 ขวบ (18-36 เดือน) เป็นช่วงเวลาที่การพัฒนาการด้านภาษาเป็นไปอย่างรวดเร็ว ภาษาจึงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function: EF) และการควบคุมตนเอง ภาษาเป็นเครื่องมือที่ทำให้เด็กได้สะท้อนความคิดและการกระทำของตนเอง วางแผนการทำสิ่งต่างๆในสมอง และยังเป็นเครื่องมือที่ช่วยทำให้เด็กสามารถไปเข้าใจและสามารถทำตามกฎเกณฑ์ที่ซับซ้อนขึ้นได้ ในช่วงวัยนี้ หากครอบครัวใดที่พ่อแม่มาจากครอบครัวที่ใช้ภาษาต่างกัน หรือสามารถใช้ภาษากับลูกทั้ง 2 ภาษาเป็นเรื่องดีที่จะใช้ประโยชน์จากภาษาที่แตกต่างกันในการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า เมื่อเด็กเริ่มหัดเดิน...
อ่านเพิ่มเติม
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 8) : การฝึกฝน EF ในเด็กวัย 6-18 เดือน
19/05/2022
การฝึกฝน EF ในเด็กวัย 6-18 เดือน ทักษะเชิงบริหารของสมองส่วนหน้า (Executive Functions: EF) เป็นทักษะสำคัญของชีวิตในการดำเนินภารกิจในแต่ละวันให้บรรลุเป้าหมาย ไม่ว่าจะเป็นการเรียน การทำงาน ความสัมพันธ์กับผู้อื่น และการพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ การทำงานของทักษะนี้เปรียบได้ง่ายๆเหมือนกับศูนย์บังคับการบิน ที่คอยจัดการให้เครื่องบินแต่ละลำขึ้นและลงจอดได้อย่างเป็นระเบียบและปลอดภัยในสนามบิน ทักษะสมองส่วนนี้ทำหน้าที่ดึงเอาข้อมูลและประสบการณ์เดิมที่เรามีอยู่ในสมองออกมาใช้เมื่อถึงเวลาที่ต้องการเพื่อทำงานให้เสร็จสิ้น ทำให้สามารถจดจ่ออยู่สิ่งที่อยู่ตรงหน้าและเป้าหมาย กรองเอาสิ่งเร้าที่ไม่จำเป็นและขัดขวางการทำงานออกไป และสามารถปรับเปลี่ยนความคิดและการกระทำเมื่อสถานการณ์ต่างไปเพื่อไปให้ถึงเป้าหมายที่ตั้ง หรือแม้แต่ปรับเปลี่ยนเป้าหมายเมื่อจำเป็น สมองใช้ทักษะเชิงบริหารของสมองส่วนหน้า (EF) ในการกำหนดเป้าหมาย ริเริ่มดำเนินการและวางแผนตลอดจนวิธีการที่จะตอบสนองต่อสถานการณ์และประเมินความคืบหน้าในการมุ่งสู่เป้าหมายอีกด้วย ...
อ่านเพิ่มเติม
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 7) : ดนตรีกับการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า EF
19/05/2022
ดนตรีกับการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า EF การศึกษาวิจัยว่าดนตรีมีส่วนในการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function) เพิ่มขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา มีการศึกษาที่ยืนยันว่าการฝึกฝนเล่นดนตรีประเภทต่างๆ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสมอง นักดนตรีมืออาชีพและผู้เชี่ยวชาญทางดนตรีที่ได้รับการฝึกฝนมาตั้งแต่ยังเล็ก และเล่นดนตรีมานานเกินกว่าสิบปีนั้นถูกค้นพบจากการทำงานสำรวจวิจัยของ Katherine-moore และทีมว่า เป็นผู้ที่มีความสามารถในการคิดเชิงนามธรรมและแก้ปัญหาได้ดี อีกทั้งงานวิจัยพบว่านักดนตรีมืออาชีพมีผลคะแนนที่ดีอย่างเห็นได้ชัด เมื่อทำการทดสอบทักษะสมองส่วนหน้าด้านความจำเพื่อใช้งาน การจดจ่อใส่ใจ และกระบวนการคิดที่รวดเร็ว ซึ่งทักษะเหล่านี้แม้แต่นักดนตรีสมัครเล่นก็ทำการทดสอบทักษะดังที่กล่าวมาแล้วได้ดีกว่าคนที่ไม่เล่นดนตรี คำว่า “อันดนตรี มีคุณทุกอย่างไป” จึงเป็นคำที่ไม่กล่าวเกินเลย เพราะแม้แต่การฝึกฝนไม่เท่าไหร่ ก็ยังสามารถทำให้ทักษะ EF...
อ่านเพิ่มเติม
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 6) : พัฒนา EF ด้วยการเล่นอย่างเป็นระบบ
19/05/2022
พัฒนา EF ด้วยการเล่นอย่างเป็นระบบ สมองส่วนหน้าบริเวณหลังหน้าผาก เป็นสมองส่วนของการคิดขั้นสูงที่มีทักษะเชิงบริหารจัดการ (Executive Function: EF) ที่ทำงานกำกับการวางแผนและกำกับการกระทำของเราเกี่ยวข้องกับความคิด อารมณ์ที่เกิดขึ้น โดยมีทักษะพื้นฐานของสมองส่วนนี้อยู่ 3 ทักษะคือ 1. ทักษะจำเพื่อใช้งาน (Working Memory) 2. ทักษะยั้งคิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) และ 3. ทักษะยืดหยุ่นความคิด (Cognitive...
อ่านเพิ่มเติม
โหลดเพิ่มเติม