สอบถามการใช้งานระบบ?

(02)913 - 7555 กด 4104

ฝ่ายบริการสมาชิกเว็บไซต์

บทความจากนักวิชาการ

สาระ EF :

เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 10): สมองเด็กในภาวะสงคราม

สมองเด็กในภาวะสงคราม สมองของเด็กประมาณ 90 % พัฒนาในช่วงอายุ 5 ขวบ นั่นหมายความว่า เด็กคนหนึ่งที่จะเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ จะเป็นคนเช่นไรนั้น ประสบการณ์ชีวิตตั้งแต่เกิดมาถึง 5 ขวบมีบทบาทสำคัญในการกำหนดความสามารถในการเรียนรู้ ทักษะการทำงานของสมองขั้นสูง (Executive Function: EF) สุขภาพทั้งทางกายและใจ รวมทั้งความสำเร็จในชีวิตที่เหลือทั้งหมด เด็กที่เกิดและเติบโตขึ้นท่ามกลางภาวะสงคราม เช่นที่เกิดในยูเครนขณะนี้ หรือเกิดในช่วงสงครามซีเรียและสงครามอื่นๆ ทั่วโลก ต่างมีประสบการณ์ที่เลวร้ายในช่วงต้นของชีวิต ทั้งประสบการณ์ความรุนแรงโดยตรงที่เจอกับตนเอง...

เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 9) : กิจกรรมฝึกฝน EF ในเด็กวัย 18-36 เดือน

กิจกรรมฝึกฝน EF ในเด็กวัย 18-36 เดือน เด็กวัยขวบครึ่งเริ่มพูดได้ไปจนถึงอายุ 3 ขวบ (18-36 เดือน) เป็นช่วงเวลาที่การพัฒนาการด้านภาษาเป็นไปอย่างรวดเร็ว ภาษาจึงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function: EF) และการควบคุมตนเอง ภาษาเป็นเครื่องมือที่ทำให้เด็กได้สะท้อนความคิดและการกระทำของตนเอง วางแผนการทำสิ่งต่างๆในสมอง และยังเป็นเครื่องมือที่ช่วยทำให้เด็กสามารถไปเข้าใจและสามารถทำตามกฎเกณฑ์ที่ซับซ้อนขึ้นได้ ในช่วงวัยนี้ หากครอบครัวใดที่พ่อแม่มาจากครอบครัวที่ใช้ภาษาต่างกัน หรือสามารถใช้ภาษากับลูกทั้ง 2 ภาษาเป็นเรื่องดีที่จะใช้ประโยชน์จากภาษาที่แตกต่างกันในการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า           เมื่อเด็กเริ่มหัดเดิน...

EF สำหรับพ่อแม่

วิธีส่งเสริมให้เด็กกล้าริเริ่ม ลงมือทำ

วิธีส่งเสริมให้ลูกกล้าริเริ่ม ลงมือทำ เพื่อประสบความสำเร็จในชีวิตจุดเริ่มต้นของความสำเร็จในชีวิตคนเราอยู่ที่การกล้าริเริ่ม ลงมือทำ  แม้จะฉลาดปราดเปรื่องในการคิด หรือวางแผนไว้สวยหรูเพียงไร หากไม่ลงมือทำ หรือไม่กล้าเป็นผู้ริเริ่ม ก็จะไม่มีวันประสบความสำเร็จอย่างแน่นอน...

เคล็ดลับพัฒนาทักษะลูกให้จำเก่ง จำแม่น

เคล็ดลับของการพัฒนาเด็กให้มีความสามารถในการจำมีหลักอยู่ว่า จะจำได้ดี ต้องมีประตูรับรู้ที่ดีก่อน คือ มีประสาทสัมผัสที่ดี เพราะฉะนั้นการพัฒนาความจำจึงเริ่มด้วยการพัฒนาประสาทสัมผัสของเด็กในทุกๆ ด้าน คุณพ่อคุณแม่สามารถช่วยลูกพัฒนาสมองให้มีความจำเป็นเลิศ หรือ Working Memory ได้โดยใช้หลักที่ว่า จะจำได้ดีต้องมีประตูรับรู้ที่ดีก่อน คือ มีประสาทสัมผัสที่ดี เพราะสมองจะต้องรับรู้ข้อมูลที่เข้ามาแล้วเกิดการเรียนรู้ เกิดการจำเพื่อนำไปใช้งานและเอาไว้เชื่อมโยงสิ่งใหม่ๆที่จะได้เรียนรู้ ดังนั้นการพัฒนาความจำจึงเริ่มจากการพัฒนาประสาทสัมผัสในทุกๆ ด้าน ได้แก่ การได้ยิน การมองเห็น การลิ้มรส การได้กลิ่น และการสัมผัสเคลื่อนไหว กิจกรรมที่พัฒนาประสาทสัมผัสเหล่านี้...

ปัญญาดีเพราะมีความจำเป็นเลิศ

Working Memory หรือความจำขณะทำงานเป็นพื้นฐานของความสามารถหลายๆ อย่างที่จะตามมา ได้แก่ การเขียน การอ่าน การคิดเชื่อมโยง การคิดวางแผน จัดลำดับความสำคัญ การตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา คิดสร้างสรรค์ ความคิดรวบยอด ความจำดีตั้งแต่วัยเด็กจะเป็นพื้นฐานให้เรียนรู้ได้ดี มีทักษะความสามารถด้านอื่นๆ ตามมา ความจำที่เรียกว่า working memory หรือความจำขณะทำงานมีความเกี่ยวข้องกับเด็กที่มีความจำดีอย่างไร รศ.ดร. นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล...

EFสำหรับครู

เล่นเกมพัฒนาความคิดยืดหยุ่น

งานวิจัยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีนานยาง (Nanyang Technological University-NTU) ชี้ว่า ผู้ใหญ่ที่เล่นเกม “Cut the Rope”...

เคล็ดลับพัฒนาความจำ (Working Memory)

เคล็ดลับของการพัฒนาเด็กให้มีความสามารถในการจำมีหลักอยู่ว่า จะจำได้ดี ต้องมีประตูรับรู้ที่ดีก่อนคือ มีประสาทสัมผัสที่ดี เพราะฉะนั้นการพัฒนาความจำจึงเริ่มด้วยการพัฒนาประสาทสัมผัสของเด็กในทุกๆ ด้าน ความสามารถในการจำ จำเก่ง จำแม่น เป็นเครื่องมือสำคัญชิ้นแรกๆ ที่จะทำให้เด็กเรียนรู้ได้ดี มีพัฒนาการด้านอื่นๆ ตามมา สำหรับการพัฒนาความจำหรือ Working Memory ในเด็กเล็กวัยอนุบาล มีหลักอยู่ว่า จะจำได้ดี ต้องมีประตูรับรู้ที่ดีก่อน คือ มีประสาทสัมผัสที่ดี เพราะสมองต้องรับรู้ข้อมูลเข้ามา แล้วเกิดการเรียนรู้ เกิดการจำเพื่อเอาไว้ใช้งาน เอาไว้เชื่อมโยงสิ่งใหม่ๆ...

เก่ง ปัญญาดีเพราะมีความจำเป็นเลิศ

Working Memory หรือความจำขณะทำงานเป็นพื้นฐานของความสามารถหลายๆ อย่างที่จะตามมา ได้แก่ การเขียน การอ่าน การคิดเชื่อมโยง การคิดวางแผน จัดลำดับความสำคัญ การตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา คิดสร้างสรรค์ ความคิดรวบยอด เด็กที่ท่องจำเก่งอาจไม่ใช่เด็กเก่งเสมอไป แต่ที่แน่ๆ ถ้าความจำดีตั้งแต่วัยเด็กจะเป็นพื้นฐานให้เรียนรู้ได้ดี มีทักษะความสามารถด้านอื่นๆ ตามมา มาดูกันว่าความจำที่เรียกว่า Working Memory หรือความจำขณะทำงานนั้นมีความเกี่ยวข้องกับการเป็นคนเก่งอย่างไร รศ.ดร.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์...
74,430แฟนคลับชอบ
- โครงการ “สื่อเพื่อฟื้นฟูการพัฒนาเด็กปฐมวัย ในวิถีชีวิตใหม่”-
- Home-Based Learning-
-พื้นที่ส่งเสริม EF ต้นแบบ-
-EF ในมหาวิทยาลัยราชภัฎ-

EF News :

สรุป Mind Map จากงาน “ความรู้พร้อมใช้จากเวทีวิจัย EF พ.ศ. 2561-2565”

สรุปความรู้พร้อมใช้ในรุปแบบของ Mind Map จากงาน “ความรู้พร้อมใช้จากเวทีวิจัย EF พ.ศ. 2561-2565” ระหว่างวันที่ 7-8 เมษายน 2565 ที่ทุกท่านรอคอย สามารถ คลิกขวาที่ภาพ และ บันทึกไฟล์ หรือสามารถดาวน์โหลดไฟล์ pdf ได้ตามลิงค์ด้านล่าง

การอบรมonline สำหรับภาคีครือข่ายที่ทำงานด้านเด็กเเละเยาวชนในหัวข้อ“ความรู้ฐานราก 3 มิติ เพื่อการพัฒนาทักษะสมอง EF”

ตรวจรายชื่อผู้เข้าร่วม การอบรมonline สำหรับภาคีครือข่ายที่ทำงานด้านเด็กเเละเยาวชนในหัวข้อ“ความรู้ฐานราก 3 มิติ เพื่อการพัฒนาทักษะสมอง EF”

ลงทะเบียนรับรหัสเข้า ZOOM ผ่าน Line Official รับของรางวัล

**พิเศษ สำหรับผู้แอด Line (line) ลงทะเบียนรับรหัสเข้า ZOOM กิจกรรมยกขบวนชวนคิด เพื่อการพัฒนาทักษะสมอง : Digital Pollution มลพิษจอใส ทำลายเด็ก 📱แคปภาพหน้าจอขณะเข้าร่วมกิจกรรม พร้อมบรรยายสั้นๆว่า สามารถนำไปใช้ประโยชน์อย่างไรได้ต่อ แล้วส่งมายัง Line : พัฒนาการทักษะสมอง EF 🎁 ลุ้นรับของรางวัลสุดพิเศษ 📕หนังสือพัฒนาทักษะสมอง EF โดย...

เวทียกขบวน ชวนคิด

กลับมาอีกครั้ง กับ เวทียกขบวน ชวนคิดวงเสวนาเพื่อการ "พัฒนาทักษะสมองEF” ตอน "Digital Pollution มลพิษจอใส ทำลายเด็ก" เมื่อ "สื่อดิจิทัล" มีอิทธิพลต่อ "ภาวะความเป็นมนุษย์ของเด็ก" จะรู้เท่าทัน จะรับมือ จะป้องกัน หรือจะแก้ไขได้อย่างไร สสส. ร่วมกับ สถาบันRLG ชวนแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้เชี่ยวชาญ …อ. ธาม เชื้อสถาปนศิริรศ.นพ.วีระศักดิ์...

สาระ EF น่ารู้

IQ vs. EF

คนส่วนใหญ่อาจจะคิดว่าคนที่มีไอคิวสูง ฉลาด เรียนเก่ง น่าจะมี EF หรือทักษะความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตที่ดี หรือพูดง่ายๆ ว่า เราคาดหวังว่าเด็กที่เรียนดีจะมีนิสัยการทำงานที่ดีด้วย...

เลี้ยงลูกให้ “ประสบความสำเร็จ”

การเรียนเก่งเป็นเพียงทักษะชุดเดียว เด็กๆจะต้องมีทักษะอื่นอีกหลายด้านจึงจะสำเร็จได้ทั้งการเรียน และการงานในอนาคตใครๆก็อยากเลี้ยงลูกให้ "ประสบความสำเร็จ" การเลี้ยงลูกให้ประสบความสำเร็จในศตวรรษที่ 21 นี้ไม่ใช่แค่เรียนเก่งเพียงอย่างเดียว องค์กรต่างๆ ล้วนต้องการคนที่รักงาน ทุ่มเท...

ทักษะสมอง EF คือ พื้นฐานของ “ทักษะในศตวรรษที่ 21” (21st Century Skills)

คนรุ่นใหม่จะอยู่รอดและประสบความสำเร็จได้ ต้องมี ”ทักษะในศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills)  แต่เด็กๆ ของเราจะพัฒนาทักษะชุดนี้ขึ้นมาในตัวได้...

ทำไมต้อง Executive Functions (EF)

Executive Functions (EF) หรือทักษะสมองเพื่อจัดการชีวิตให้สำเราเป็นทักษะสำคัญพื้นฐานของการคิด ความรู้สึกและการกระทำทุกอย่างของมนุษย์ทุกคน เป็นคำตอบสำหรับทุกความสำเร็จของเราไม่ว่าการเรียน การงานหรือการอยู่กับคนอื่น สิ่งที่ทำให้มนุษย์เราแตกต่างจากสิ่งมีชีวิตร่วมโลกอีกเกือบ 2...

FAQ

EF ในสถาบันราชภัฎ

Must Read

นางกษมน มังคละคีรี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกลางนาเดื่อ จ.สกลนคร

โรงเรียนบ้านกลางนาเดื่อเป็นโรงเรียนในโครงการโรงเรียนพัฒนาตนเอง (TSQP) ผอ.กษมน ได้รับการแนะนำให้รู้จักเรื่องEF จากอาจารย์วิเชียร ไชยบัง โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา แล้วศึกษาเพิ่มเติมทางอินเทอร์เน็ตและเข้าอบรมกับสถาบันRLG เมื่อเดือนเมษายน 2564 โดยให้ครูปฐมวัยในโรงเรียนเข้ารับการอบรมด้วย ซึ่งเป็นครูที่จบเอกปฐมวัยมาโดยตรง และมีความมุ่งมั่นที่จะนำความรู้สู่การปฏิบัติในชั้นเรียน เมื่อตระหนักถึงความสำคัญของ EF ตรงกัน ผอ.กษมนจึงให้ความสนับสนุนอย่างเต็มที่ ให้ครูปฐมวัยได้จัดการเรียนการสอนส่งเสริม EF โดยไม่ได้รอความเห็นชอบจากศน.เขตพื้นที่ฯ เพราะเห็นว่า EF เป็นความรู้ที่สอดคล้องกับหลักการศึกษาปฐมวัยอยู่แล้ว สามารถบูรณาการไปกับการส่งเสริมพัฒนาการ...

นางเปรมศิริ เนื้อเย็น ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองบ้วย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบ้วย  จ.เพชรบุรี

ผอ.เปรมศิริได้รับการแนะนำให้รู้จักเรื่อง EFจากศึกษานิเทศน์เขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรีเขต 2 และ ศน.เชิญชวนให้เข้ารับการอบรมความรู้ EF กับสถาบัน RLG แล้วนำความรู้ EF มาขยายสู่ครูปฐมวัยในโรงเรียนให้ครูได้ส่งเสริมEF เด็กผ่านโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เนื่องจากมีความสอดคล้องกัน โดยบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยส่งเสริมให้เด็กได้คิดวิเคราะห์ เรียนรู้จากการลงมือทำ นอกจากนั้นยังวางแผนจะเชื่อมโยงความรู้ EF ไปสู่ครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบ้วย เพื่อเป็นการปูพื้นฐาน EF ให้เด็กจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่จะมาเรียนต่ออนุบาล 3 ที่โรงเรียนบ้านหนองบ้วย ทำให้เด็กได้รับการพัฒนา...

นายทวิต ราษี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป้อมประชานุกูล จ.สุโขทัย

ผอ.ทวิต ราษี มีประสบการณ์บริหารโรงเรียนขนาดเล็กที่มีระดับชั้นปฐมวัยมานานโดยมีความตั้งใจในการพัฒนาอนุบาลให้มีคุณภาพเพราะเป็นการสร้างรากฐานให้เด็กไปจนโต และมีความสนใจในเรื่องพัฒนาการเด็ก เมื่อเข้าร่วมอบรมเรื่อง EF จากสถาบัน RLG ก็ได้เข้าใจว่าพัฒนาการของเด็กนั้นเกิดจากการทำงานของสมอง และยังเห็นว่าเรื่อง EF มีความสอดคล้องกับโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อยที่โรงเรียนบ้านป้อมประชานุกูลดำเนินการอยู่ จึงสนใจที่จะขับเคลื่อนความรู้ EF ในโรงเรียน(ที่เพิ่งเข้ามาบริหาร) ผอ.ทวิตนำความรู้ EF มาถ่ายทอดแก่ครู ให้ครูนำความรู้ EF บูรณาการกับโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อยซึ่งเป็นการเรียนรู้แบบโครงงาน เพียงครูเปลี่ยนวิธีการ ไม่ใช่ครูสั่งให้เด็กทำ แต่ให้เด็กได้คิดได้ทำด้วยตัวเอง...

นายสวัสดิ์ เมฆสุนทร  ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองโพธิ์ จ.นครราชสีมา 

ผอ.สวัสดิ์ได้รับการแนะนำจากอาจารย์วิเชียร ไชยบัง โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา ให้รู้จัก EF รวมทั้งได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง EF ในการประชุมเครือข่ายโรงเรียนพัฒนาตนเอง(TSQP)อยู่เสมอ และเข้ารับการอบรมกับสถาบัน RLG เพิ่มเติม  แล้วเห็นว่า EF เป็นความรู้พื้นฐานหรือความรู้ปฐมบทที่พ่อแม่ผู้ปกครองไม่ว่าสถานะใดควรต้องรู้ ไม่ใช่เฉพาะผู้ปกครองชนชั้นกลางขึ้นไปที่มีความรู้ หรือเป็นความรู้ในหมู่ครูอาจารย์หรือแพทย์เท่านั้น  ครอบครัวที่ด้อยโอกาสก็ควรต้องรู้ สรุปคือสังคมไทยควรต้องเรียนรู้เรื่อง EF เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันจึงสนับสนุนให้ครูปฐมวัยในโรงเรียนได้รับการอบรม EF จากสถาบัน RLG และดำเนินการปรับสนามเด็กเล่นเพื่อให้เด็กได้เล่นอิสระอย่างปลอดภัยและมีความสุข...

นายจรูญ น้อยสำราญ  ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองบอน จ.ตราด

โรงเรียนบ้านหนองบอนเป็นโรงเรียนหนึ่งในเครือข่ายโรงเรียนพัฒนาตนเอง (TSQD) กสศ.ซึ่งทำให้ผอ.จรูญได้เริ่มรู้จัก EF แล้วทำให้อยากรู้ว่า EF คืออะไร เมื่อพบว่าสถาบัน RLG มีการอบรมเรื่องนี้จึงสมัครเข้ารับอบรมพร้อมครูอนุบาล 2 คน  แล้วได้เห็นว่า EF เป็นคำตอบเรื่องการพัฒนาเด็กให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ และการพัฒนาเด็กให้เต็มศักยภาพ จึงนำความรู้ EF มาถ่ายทอดให้ครูในโรงเรียน โดยใช้สื่อจากสถาบันRLG ให้ครูเรียนรู้ และมอบหมายให้รองผอ.ติดตามการดำเนินการขับเคลื่อนความรู้ EF สู่การปฏิบัติในชั้นเรียนอนุบาล...