สอบถามการใช้งานระบบ?

(02)913 - 7555 กด 4104

ฝ่ายบริการสมาชิกเว็บไซต์

รายชื่ออาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏคณะครุศาสตร์ สาขาการศึกษาปฐมวัย ที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรรายวิชา “สมองกับการเรียนรู้” รุ่นที่ 2

ลำดับรายชื่อสังกัด
1ผู้ช่วยศาสตราจารย์กมลรัตน์  คนองเดชมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
2อาจารย์สุนิศา  ธรรมบัญชา
3อาจารย์เสาวลักษณ์  สมวงษ์
4ผู้ช่วยศาสตราจารย์จรุงใจ มนต์เลี้ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
5อาจารย์สุชาดา จิตกล้า
6อาจารย์สุทธิชา  มาลีเลศ
7อาจารย์สุดา เจ๊ะอุมา
8อาจารย์จุฬาลักษณ์  สุตระ
9อาจารย์เบญจพร ชนะกุล
10ผู้ช่วยศาสตราจารย์นัยนา ยีหมะมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
11อาจารย์นิศารัตน์ บุญมี
12อาจารย์ภักดิ์ศานณัฎฐ์ หอยสกุล
13อาจารย์ชนกพร ประทุมทอง
14อาจารย์รัศมิ์ดาว สุขมาตย์
15นางวรรณี พลสมัครมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
16นางวนิดา รัตนมงคล
17นางสาวธีรารัตน์ ศรีวิรัตน์
18นางสาวนพวรรณ ยอดธรรม 
19นางสาวเบญจกาญจน์ ใส่ละม้าย
20อาจารย์อัจฉรา ญาณสุวรรณ  
21อาจารย์วารวิชนี หวั่นหนูมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
22ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชิตาพร เอี่ยมสะอาด
23อาจารย์เสาวภาคย์ สว่างจันทร์
24อาจารย์จินดาพร แก้วลายทอง
25ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัฐดาว พิศาลพงศ์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
26ผู้ช่วยศาสตราจารย์วริยา สมประชา
27อาจารย์รัตนวรรณ ลิมวัฒนาสมุทร
28อาจารย์ปวรา ชูสังข์
29อาจารย์วิลาสินี ทองแถบ
30อาจารย์ ดร.จริยาภรณ์ สกุลพราหมณ์มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
31อาจารย์เบญจวรรณ ศรีมารุตมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
32อาจารย์ญาณิกา สกุลกลจักรมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
33อาจารย์ปิยลักษณ์ ไตรรัตนสุวรรณ์
34อาจารย์ชมพูนุท ลิ้มเลิศมงคลมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
35อาจารย์ณัฐกา สุทธิธนกูล
36รองศาสตราจารย์นันทิยา น้อยจันทร์
37ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาวิณี โฆมานะสิน
38ผู้ช่วยศาสตราจารย์สิริมณี บรรจง
39ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพันธ์วดี ไวยรูป
40อาจารย์โชติรส  สุทธิประเสริฐมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการ
41อาจารย์วารุณี  นาวัลย์
42อาจารย์ดวงใจ  รุ่งเรือง
43อาจารย์ณัฐนันท์  มั่นคง
44อาจารย์ปองรัก  รังษีวงศ์
45อาจารย์ ดร.จินตนา สุขสำราญมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
46อาจารย์ตฤน แจ่มถิน
47อาจารย์กมลวรรณ อังศรีสุรพร
48ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชวนิดา สุวานิช
49อาจารย์สุธน วงค์แดง
50ผู้ช่วยศาสตราจารย์กิรณา เกี๋ยสกุลมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
51ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชุลีพร  สงวนศรี
52อาจารย์ขจิตพรรณ ทองคำ
53อาจารย์พัชรี  ชีวะคำนวณ
54อาจารย์ณัฐทิญาภรณ์  การะเกตุ
55ดร.หฤทัย อนุสสรราชกิจมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
56ผู้ช่วยศาสตราจารย์วราลี ถนอมชาติ
57อาจารย์เกศิณี ศิริสุนทรไพบูลย์
58อาจารย์ญาณิศา บุญพิมพ์
59อาจารย์นภัส ศรีเจริญประมง
60อาจารย์พจนีย์ เชื้อบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
61ผู้ช่วยศาสตราจารย์กันยา ลุมพิกานนท์
62ดร.จิตติพร บ่มไล่
63ดร.เยาวนุช ทานาม
64อาจารย์ธิดารัตน์ อธิปัญจพงษ์
65อาจารย์สุรสา จันทนา
66อาจารย์วราภรณ์  อ่ำอ้นมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
67อาจารย์ ดร.สุภัทรา คงเรืองมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
68ดร.ธนาวรรณ รักษาพงษ์พานิช
69อาจารย์ภรภัทร นิยมชัย
70อาจารย์นันทิยา รักตประจิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ฯ
71อาจารย์วิลินดา พงศ์ธราธิก
72อาจารย์คันธรส  ภาผล
73ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิติพร พิชญกุล
74ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิธร จันทมฤก
75ผู้ช่วยศาสตราจารย์พนิดา ชาตยาภา
76อาจารย์กุลชาติ พันธุวรกุล
77อาจารย์ดวงใจ  เนตรตระสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
78อาจารย์ ดร.ชไมมน ศรีสุรักษ์
79อาจารย์สุชานาฏ ไชยวรรณะมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
80ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนงค์นารถ ยิ้มช้าง
81ผู้ช่วยศาสตราจารย์  ดร.วไลพร เมฆไตรรัตน์
82ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีราพร กุลนานันท์
83อาจารย์ ดร.บัณฑิตา อินสมบัติ
84อาจารย์รวินันท์ สัจจาศิลป์
85ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริพร ปาณาวงษ์
86อาจารย์ชลิตา  ขวัญมิ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
87อาจารย์นภาวดี  จันทร์เชื้อ
88อาจารย์วิชญาพร  อ่อนปุย
89อาจารย์นุชจรีย์  ม่วงอยู่มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
90อาจารย์เสาวคนธ์  สาเอี่ยมมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
91ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทิพจุฑา สุภิมารส สิงคเสลิต
92อาจารย์พัชรา  พานทองรักษ์
93อาจารย์กนกวรรณ  แก่นนาคำมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
94ผู้ช่วยศาสตราจารย์อุบล ผลจันทร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
95ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัชรีย์  ร่วมคิด
96อาจารย์ ดร.พนิตศรี  ศรีเชื้อ
97อาจารย์ธนาพูน  วงค์ษา
98ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤตวรรณ  คำสมมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
99อาจารย์ญาดา  ช่อสูงเนิน
100อาจารย์รัตนวดี  รอดภิรมย์
101ผู้ช่วยศาสตราจารย์วยุภา สุขอู๊ดมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
102อาจารย์จันทิมา เคลือบสำราญ
103อาจารย์ธนากร เทียมทันมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
104ผู้ช่วยศาสตราจารย์อรุณี  แก้ววิชิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
105อาจารย์ทัศนีย์  การเร็ว
106อาจารย์กนกวรรณ วังมณี
107ดร.ศิวภรณ์ สองแสน
108ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรรณิการ์ สุสมมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
109อาจารย์จุฑาทิพย์ โอบอ้อม มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

[/vc_column_text][/vc_column][/vc_row]

Related Articles

นางกษมน มังคละคีรี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกลางนาเดื่อ จ.สกลนคร

โรงเรียนบ้านกลางนาเดื่อเป็นโรงเรียนในโครงการโรงเรียนพัฒนาตนเอง (TSQP) ผอ.กษมน ได้รับการแนะนำให้รู้จักเรื่องEF จากอาจารย์วิเชียร ไชยบัง โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา แล้วศึกษาเพิ่มเติมทางอินเทอร์เน็ตและเข้าอบรมกับสถาบันRLG เมื่อเดือนเมษายน 2564 โดยให้ครูปฐมวัยในโรงเรียนเข้ารับการอบรมด้วย ซึ่งเป็นครูที่จบเอกปฐมวัยมาโดยตรง และมีความมุ่งมั่นที่จะนำความรู้สู่การปฏิบัติในชั้นเรียน เมื่อตระหนักถึงความสำคัญของ EF ตรงกัน ผอ.กษมนจึงให้ความสนับสนุนอย่างเต็มที่ ให้ครูปฐมวัยได้จัดการเรียนการสอนส่งเสริม EF โดยไม่ได้รอความเห็นชอบจากศน.เขตพื้นที่ฯ เพราะเห็นว่า EF เป็นความรู้ที่สอดคล้องกับหลักการศึกษาปฐมวัยอยู่แล้ว สามารถบูรณาการไปกับการส่งเสริมพัฒนาการ...

นางเปรมศิริ เนื้อเย็น ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองบ้วย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบ้วย  จ.เพชรบุรี

ผอ.เปรมศิริได้รับการแนะนำให้รู้จักเรื่อง EFจากศึกษานิเทศน์เขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรีเขต 2 และ ศน.เชิญชวนให้เข้ารับการอบรมความรู้ EF กับสถาบัน RLG แล้วนำความรู้ EF มาขยายสู่ครูปฐมวัยในโรงเรียนให้ครูได้ส่งเสริมEF เด็กผ่านโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เนื่องจากมีความสอดคล้องกัน โดยบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยส่งเสริมให้เด็กได้คิดวิเคราะห์ เรียนรู้จากการลงมือทำ นอกจากนั้นยังวางแผนจะเชื่อมโยงความรู้ EF ไปสู่ครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบ้วย เพื่อเป็นการปูพื้นฐาน EF ให้เด็กจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่จะมาเรียนต่ออนุบาล 3 ที่โรงเรียนบ้านหนองบ้วย ทำให้เด็กได้รับการพัฒนา...

นายทวิต ราษี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป้อมประชานุกูล จ.สุโขทัย

ผอ.ทวิต ราษี มีประสบการณ์บริหารโรงเรียนขนาดเล็กที่มีระดับชั้นปฐมวัยมานานโดยมีความตั้งใจในการพัฒนาอนุบาลให้มีคุณภาพเพราะเป็นการสร้างรากฐานให้เด็กไปจนโต และมีความสนใจในเรื่องพัฒนาการเด็ก เมื่อเข้าร่วมอบรมเรื่อง EF จากสถาบัน RLG ก็ได้เข้าใจว่าพัฒนาการของเด็กนั้นเกิดจากการทำงานของสมอง และยังเห็นว่าเรื่อง EF มีความสอดคล้องกับโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อยที่โรงเรียนบ้านป้อมประชานุกูลดำเนินการอยู่ จึงสนใจที่จะขับเคลื่อนความรู้ EF ในโรงเรียน(ที่เพิ่งเข้ามาบริหาร) ผอ.ทวิตนำความรู้ EF มาถ่ายทอดแก่ครู ให้ครูนำความรู้ EF บูรณาการกับโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อยซึ่งเป็นการเรียนรู้แบบโครงงาน เพียงครูเปลี่ยนวิธีการ ไม่ใช่ครูสั่งให้เด็กทำ แต่ให้เด็กได้คิดได้ทำด้วยตัวเอง...

Stay Connected

74,430แฟนคลับชอบ
- โครงการ “สื่อเพื่อฟื้นฟูการพัฒนาเด็กปฐมวัย ในวิถีชีวิตใหม่” -
- EF Development Tools -

Latest Articles

นางกษมน มังคละคีรี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกลางนาเดื่อ จ.สกลนคร

โรงเรียนบ้านกลางนาเดื่อเป็นโรงเรียนในโครงการโรงเรียนพัฒนาตนเอง (TSQP) ผอ.กษมน ได้รับการแนะนำให้รู้จักเรื่องEF จากอาจารย์วิเชียร ไชยบัง โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา แล้วศึกษาเพิ่มเติมทางอินเทอร์เน็ตและเข้าอบรมกับสถาบันRLG เมื่อเดือนเมษายน 2564 โดยให้ครูปฐมวัยในโรงเรียนเข้ารับการอบรมด้วย ซึ่งเป็นครูที่จบเอกปฐมวัยมาโดยตรง และมีความมุ่งมั่นที่จะนำความรู้สู่การปฏิบัติในชั้นเรียน เมื่อตระหนักถึงความสำคัญของ EF ตรงกัน ผอ.กษมนจึงให้ความสนับสนุนอย่างเต็มที่ ให้ครูปฐมวัยได้จัดการเรียนการสอนส่งเสริม EF โดยไม่ได้รอความเห็นชอบจากศน.เขตพื้นที่ฯ เพราะเห็นว่า EF เป็นความรู้ที่สอดคล้องกับหลักการศึกษาปฐมวัยอยู่แล้ว สามารถบูรณาการไปกับการส่งเสริมพัฒนาการ...

นางเปรมศิริ เนื้อเย็น ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองบ้วย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบ้วย  จ.เพชรบุรี

ผอ.เปรมศิริได้รับการแนะนำให้รู้จักเรื่อง EFจากศึกษานิเทศน์เขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรีเขต 2 และ ศน.เชิญชวนให้เข้ารับการอบรมความรู้ EF กับสถาบัน RLG แล้วนำความรู้ EF มาขยายสู่ครูปฐมวัยในโรงเรียนให้ครูได้ส่งเสริมEF เด็กผ่านโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เนื่องจากมีความสอดคล้องกัน โดยบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยส่งเสริมให้เด็กได้คิดวิเคราะห์ เรียนรู้จากการลงมือทำ นอกจากนั้นยังวางแผนจะเชื่อมโยงความรู้ EF ไปสู่ครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบ้วย เพื่อเป็นการปูพื้นฐาน EF ให้เด็กจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่จะมาเรียนต่ออนุบาล 3 ที่โรงเรียนบ้านหนองบ้วย ทำให้เด็กได้รับการพัฒนา...

นายทวิต ราษี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป้อมประชานุกูล จ.สุโขทัย

ผอ.ทวิต ราษี มีประสบการณ์บริหารโรงเรียนขนาดเล็กที่มีระดับชั้นปฐมวัยมานานโดยมีความตั้งใจในการพัฒนาอนุบาลให้มีคุณภาพเพราะเป็นการสร้างรากฐานให้เด็กไปจนโต และมีความสนใจในเรื่องพัฒนาการเด็ก เมื่อเข้าร่วมอบรมเรื่อง EF จากสถาบัน RLG ก็ได้เข้าใจว่าพัฒนาการของเด็กนั้นเกิดจากการทำงานของสมอง และยังเห็นว่าเรื่อง EF มีความสอดคล้องกับโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อยที่โรงเรียนบ้านป้อมประชานุกูลดำเนินการอยู่ จึงสนใจที่จะขับเคลื่อนความรู้ EF ในโรงเรียน(ที่เพิ่งเข้ามาบริหาร) ผอ.ทวิตนำความรู้ EF มาถ่ายทอดแก่ครู ให้ครูนำความรู้ EF บูรณาการกับโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อยซึ่งเป็นการเรียนรู้แบบโครงงาน เพียงครูเปลี่ยนวิธีการ ไม่ใช่ครูสั่งให้เด็กทำ แต่ให้เด็กได้คิดได้ทำด้วยตัวเอง...

นายสวัสดิ์ เมฆสุนทร  ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองโพธิ์ จ.นครราชสีมา 

ผอ.สวัสดิ์ได้รับการแนะนำจากอาจารย์วิเชียร ไชยบัง โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา ให้รู้จัก EF รวมทั้งได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง EF ในการประชุมเครือข่ายโรงเรียนพัฒนาตนเอง(TSQP)อยู่เสมอ และเข้ารับการอบรมกับสถาบัน RLG เพิ่มเติม  แล้วเห็นว่า EF เป็นความรู้พื้นฐานหรือความรู้ปฐมบทที่พ่อแม่ผู้ปกครองไม่ว่าสถานะใดควรต้องรู้ ไม่ใช่เฉพาะผู้ปกครองชนชั้นกลางขึ้นไปที่มีความรู้ หรือเป็นความรู้ในหมู่ครูอาจารย์หรือแพทย์เท่านั้น  ครอบครัวที่ด้อยโอกาสก็ควรต้องรู้ สรุปคือสังคมไทยควรต้องเรียนรู้เรื่อง EF เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันจึงสนับสนุนให้ครูปฐมวัยในโรงเรียนได้รับการอบรม EF จากสถาบัน RLG และดำเนินการปรับสนามเด็กเล่นเพื่อให้เด็กได้เล่นอิสระอย่างปลอดภัยและมีความสุข...

นายจรูญ น้อยสำราญ  ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองบอน จ.ตราด

โรงเรียนบ้านหนองบอนเป็นโรงเรียนหนึ่งในเครือข่ายโรงเรียนพัฒนาตนเอง (TSQD) กสศ.ซึ่งทำให้ผอ.จรูญได้เริ่มรู้จัก EF แล้วทำให้อยากรู้ว่า EF คืออะไร เมื่อพบว่าสถาบัน RLG มีการอบรมเรื่องนี้จึงสมัครเข้ารับอบรมพร้อมครูอนุบาล 2 คน  แล้วได้เห็นว่า EF เป็นคำตอบเรื่องการพัฒนาเด็กให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ และการพัฒนาเด็กให้เต็มศักยภาพ จึงนำความรู้ EF มาถ่ายทอดให้ครูในโรงเรียน โดยใช้สื่อจากสถาบันRLG ให้ครูเรียนรู้ และมอบหมายให้รองผอ.ติดตามการดำเนินการขับเคลื่อนความรู้ EF สู่การปฏิบัติในชั้นเรียนอนุบาล...