Page 93 - Executive Functions ในเด็กวัย 13-18 ปี
P. 93

1.  สร้างความผูกพันไว้ใจ (attachment)
 5 องค์ประกอบส�าคัญในการส่งเสริม EF     ควำมผูกพันไว้ใจเป็นองค์ประกอบส�ำคัญที่สุดที่เป็นฐำนล้อมรอบองค์ประกอบอื่น

               ธรรมชำติได้ให้ควำมผูกพันเป็น“สำยสัมพันธ์” ที่เหนียวแน่นเหนี่ยวรั้งมนุษย์ทุกคนไว้

               เหมือนสำยโซ่ที่มองไม่เห็น เพื่อด�ำรงครอบครัวกลุ่มก้อนสังคมของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
               ที่ต้องกำรกำรพึ่งพำอำศัยเกื้อกูลกัน จึงจะสำมำรถอยู่รอดปลอดภัย
 “ ฝึก”

 ต่อเนื่อง
 สม�่าเสมอ         มนุษย์ใช้เวลำนำนที่สุดเมื่อเทียบกับสัตว์อื่นในกำรพึ่งพิงกำรดูแลจำกคนอื่นกว่ำที่
               จะสำมำรถด�ำเนินชีวิตได้ด้วยตนเอง ควำมผูกพันอย่ำงชัดเจนจะเกิดขึ้นประมำณช่วง
               วัย 6 เดือนถึง 2 ขวบ เป้ำหมำยเพื่อให้อยู่ได้ในสถำนกำรณ์ที่ตนรู้สึกปลอดภัย  ในระยะ

               แรกของชีวิตที่ยังไม่สำมำรถมีชีวิตได้โดยปรำศจำกผู้อื่น ทำรกต้องสร้ำงควำมสัมพันธ์
               หลักกับใครสักคนให้ส�ำเร็จจึงจะสำมำรถเกิดพัฒนำกำรทำงสังคมและอำรมณ์ต่อไปได้

               นั่นหมำยถึงในเวลำนั้นมีใครสักคนเป็นหลักในกำรตอบสนองควำมต้องกำรของตน
               อย่ำงจริงจัง เร็วบ้ำงช้ำบ้ำงตำมสถำนกำรณ์ แต่มีควำมสม�่ำเสมอพอที่ทำรกแรกเกิด

               และยังช่วยตัวเองไม่ได้จะเกิดควำมมั่นใจว่ำ ควำมต้องกำรของตนได้รับกำรเอำใจใส่
               ไม่ว่ำจะร้องเพรำะหิว ไม่สบำยตัว ปวดท้อง ฯลฯ



                   จำกประสบกำรณ์ที่ได้รับกำรตอบสนอง ทำรกจะเกิดกำรเรียนรู้ที่จะยับยั้งตนเอง

               เช่น หยุดร้องเพื่อรอได้



                   ทักษะสมอง EF ในเรื่องนี้จะได้รับกำรกระตุ้นให้ท�ำงำนมีประสิทธิภำพเพียงไร
               อยู่ที่กำรเลี้ยงดูซึ่งจะยำกดีมีจนไม่ส�ำคัญ เพรำะควำมรักเอำใจใส่เป็นเรื่องที่ยิ่งใหญ่กว่ำ

               เรื่องใดทั้งหมดที่จะก่อสำนควำมผูกพันไว้ใจโลกใบนี้ โดยเริ่มจำกควำมผูกพัน
               กับวัตถุ (object) ที่ถูกเรียกว่ำแม่ในตอนต้นของชีวิต และพัฒนำไปจนเกิดเป็น

               ควำมผูกพันไว้ใจกับมนุษย์ผู้อื่นและสรรพสิ่ง



                   ควำมรักและควำมอบอุ่นที่ได้รับในวัยทำรกและวัยเด็กผ่ำนกำรกอดและปลอบโยน
               สร้ำงควำมแข็งแกร่งให้แกน HPA (Hypothalamus-Pituitary-Adrenal) ในสมอง

               ไม่ให้หลั่งสำรควำมเครียดมำกเกินจนท�ำลำยพัฒนำกำรของทักษะสมอง EF ในสมอง





 92                                                                                                           93
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98