Page 98 - Executive Functions ในเด็กวัย 13-18 ปี
P. 98

7.  ก�ำหนดควำมส�ำคัญก่อนหลัง เช่น ท�ำงำนเสร็จแล้วไปข้ำงนอกได้                               2. ดูแลสุขภาพของสมอง จากการนอน อาหารการกิน
                                       8.  ก�ำหนดและตกลงกันเรื่องเวลำ ฝึกกำรวำงแผน                                                 และออกก�าลังกายอย่างเหมาะสม

                                       9.  บอกควำมรู้สึกของผู้ใหญ่ให้เกิดกำรเรียนรู้ว่ำ ทุกกำรกระท�ำของลูกวัยรุ่น
                                         ส่งผลต่อคนอื่นเสมอ ไม่ใช้วิธีบ่นหรือต�ำหนิ                                                กำรนอน

                                       10. สังเกต ใส่ใจ และแสดงควำมเข้ำใจในควำมรู้สึกของลูกวัยรุ่นที่มีหลำยอำรมณ์                      กำรนอนเป็นอำหำรสมอง กำรนอนไม่ใช่แค่เพียงท�ำให้ร่ำงกำยได้พักผ่อน
                                         ในแต่ละวัน ให้รู้ตัวว่ำก�ำลังมีอำรมณ์อะไร ให้รับรู้อำรมณ์ตัวเองและรู้ว่ำต้อง              และผลิต growth hormone เพื่อกำรเจริญเติบโตทำงร่ำงกำยของวัยรุ่นเท่ำนั้น

                                         จัดกำรอะไรกับอำรมณ์ของตัวเอง สำมำรถก�ำกับตัวเองได้และมีเวลำเฉพำะ                          แต่ยังเป็นช่วงเวลำที่สมองจะได้จัดระเบียบข้อมูล แปลงควำมจ�ำระยะสั้นและเหตุกำรณ์
                                         ที่เป็น “ส่วนตัว” กับเด็ก                                                                 ล่ำสุดลงไปในหน่วยควำมจ�ำระยะยำว และช่วยสร้ำงข้อมูลใหม่ลงในสมองเพื่อ

                                                                                                                                   เรียกคืนในภำยหลัง



                                                                                                                                       จำกกำรวิจัยของซำนดรีน ธูเร (Sandrine Thuret) และโจนัส ไฟรเซน (Jonas

                                                                                                                                   Frisén) จำกสถำบันคำโรลินสกำ (Karolinaska Institute) ในประเทศสวีเดน

                    10 กำรสร้ำงวินัยเชิงบวกในห้องเรียนอย่ำงง่ำย                                                                    ได้ค้นพบเมื่อไม่นำนมำนี้ว่ำ ปกติในสมองส่วนฮิปโปแคมปัส ซึ่งท�ำงำนเกี่ยวกับ
                    ที่ครูสำมำรถน�ำไปปรับใช้กับนักเรียนระดับมัธยมได้                                                               ควำมจ�ำ กำรเรียนรู้และอำรมณ์นั้น สร้ำงเซลล์ประสำทใหม่ประมำณ 700 เซลล์ต่อวัน
                                                                                                                                   กำรอดนอนและควำมเครียดท�ำให้กำรสร้ำงเซลล์ประสำทเหล่ำนี้ลดลง มีกำรวิจัย
                    1. พุ่งเป้าไปที่แผนการสอน กิจกรรม กระบวนการ บรรยากาศ (ไม่พุ่งเป้าไปที่ปัญหาพฤติกรรม)                           ในเด็กเล็กพบว่ำ กำรนอนในเวลำกลำงคืนไม่เพียงพอแม้จะชดเชยด้วยกำรนอน

                    2. มีกฎใหญ่ๆ สั้นๆ สามข้อคือ เคารพสิทธิผู้อื่น มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม (ไม่สร้างกฎมากเกิน)                   ช่วงกลำงวัน จะท�ำให้ทักษะยั้งคิดในสมองส่วนหน้ำท�ำงำนได้ไม่ดี

                    3. เป็นแบบอย่างพฤติกรรมที่เหมาะสม (ไม่ท�าตัวเป็นตัวอย่างที่ไม่ดี)
                    4. เมื่อเด็กมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม นั่งคุยกันเป็นการส่วนตัว (ไม่ประจาน)                                              ในช่วงวัยรุ่น กำรนอนไม่พอก่อให้เกิดผลหลำยประกำร ตั้งแต่ปัญหำร่ำงกำย
                    5. ให้ก�าลังใจและให้ค�าแนะน�า (ไม่ท�าให้เด็กรู้สึกผิด)                                                         ไม่สำมำรถเติบโตเต็มที่ ควำมสูงน้อยกว่ำที่ควร ลดประสิทธิภำพกำรท�ำงำนของ

                    6. ให้ความส�าคัญในเรื่องที่สอนหรือที่เด็กประพฤติดี (ไม่หยุดการสอนเพื่อดุเด็ก)                                  ระบบต่ำงๆ ท�ำให้เจ็บป่วยง่ำย ติดเชื้อง่ำย มีปัญหำควำมสำมำรถในกำรเรียนรู้ ไม่มี

                    7. ให้เด็กมีส่วนร่วม (ไม่สอนแบบน่าเบื่อ)                                                                       สมำธิในกำรเรียน ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เหนื่อยล้ำ มึนงง ง่วง หลับใน นอกจำกนั้น
                    8. รับมือกับปัญหาโดยเป็นพวกเดียวกับเด็กเสมอ (ไม่ขี้ฟ้อง)                                                       กำรนอนไม่พอยังส่งผลกระทบต่อระบบประสำทส่วนควบคุมกำรเคลื่อนไหวของ
                    9. สร้างมิตรภาพ แสดงออกซึ่งความสนใจ (ไม่ข่มเด็ก)                                                               ร่ำงกำย ท�ำให้ซุ่มซ่ำม ส่งผลต่ออำรมณ์ท�ำให้หงุดหงิดง่ำย ฉุนเฉียวบ่อย กำรตัดสินใจ

                    10. วางตัวเป็นผู้ใหญ่ รู้ตัวว่าตนเองเป็น “ครู” อยู่เสมอ (ไม่เอาเรื่องส่วนตัวมาเป็นปัญหา)                       หุนหันพลันแล่น ในระยะยำวมีควำมเสี่ยงต่อกำรเป็นโรคอ้วน เบำหวำน โรคหัวใจ

                                                                                                                                   ควำมดันโลหิตสูง หรืออัลไซเมอร์ได้ ปัญหำที่ร้ำยแรงเกี่ยวกับกำรอดนอนเรื้อรังอีกอย่ำง
                                                                                                                                   หนึ่งคือกำรบำดเจ็บและกำรตำยจำกอุบัติเหตุทำงจรำจรและกำรท�ำงำน พบว่ำครึ่งหนึ่ง








            98                                                                                                                                                                                                                    99
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103