Page 96 - Executive Functions ในเด็กวัย 13-18 ปี
P. 96

ควำมต้องกำรพื้นฐำนของวัยรุ่นทุกคนคือชีวิตที่สงบสุข มีควำมสม�่ำเสมอ ด�ำเนิน                                                        1. การท�าร้ายร่างกาย จิตใจ เช่น ลงโทษ เปรียบเทียบ

                                   ไปบนแบบแผนที่สอดคล้องกัน มีควำมเป็นมิตร ใส่ใจกำรยอมรับ มีเหตุผล และได้รับ                                                               ด่าว่า ประชด
                                   กำรปกป้อง รู้สึกปลอดภัยและได้รับกำรฝึกฝนพัฒนำอย่ำงเข้ำอกเข้ำใจ                                                                        2. ควบคุมจากภายนอก เช่น ให้รางวัล ข่มขู่ ตั้งข้อแม้
                                                                                                                                         วินัยเชิงลบมุ่งไป                 สั่ง บังคับ ใช้อ�านาจ


                                       วินัยเชิงบวกให้ควำมส�ำคัญกับกำรสื่อสำรและกำรสร้ำงสัมพันธภำพที่เข้ำอกเข้ำใจ                         ที่ 4 เรื่องคือ                3. ไม่สนใจสร้างทักษะ ต้องการให้แค่ปฏิบัติตาม

                                   พัฒนำกำรของวัยรุ่น ไม่ใช้ควำมรุนแรง เคำรพศักดิ์ศรีควำมเป็นมนุษย์ สนับสนุนกำร                                                          4. ไม่สนใจการเรียนรู้ กระบวนการคิด ไม่ต้องตัดสินใจ
                                   เติบโตของวัยรุ่นแต่ละคนด้วยกำรให้ควำมรัก ข้อมูลควำมรู้และทำงเลือก                                                                       ผู้อื่นเป็นคนประเมิน



                                       กำรใช้วินัยเชิงบวกท�ำให้ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบ้ำน โรงเรียนกับวัยรุ่นดีขึ้น และ

                                   กำรปฏิบัติของผู้ใหญ่จะเป็นแบบอย่ำงที่ดีให้แก่วัยรุ่นอีกทำงหนึ่ง ทั้งหมดนี้ส่งผล                     กำรสร้ำงวินัยเชิงบวกคือกำรฝึกทักษะสมอง EF เมื่อได้รับกำรฝึกอย่ำงต่อเนื่อง
                                   ต่อกำรเรียนรู้และพัฒนำกำร ท�ำให้วัยรุ่นมีควำมรู้สึกดีต่อตนเอง เรียนรู้ที่จะเคำรพ                จะกลำยเป็นนิสัยติดตัวไปเป็น “กมลสันดำน” ท�ำให้เด็กไทยมีนิสัยดี หรือเรียกว่ำ

                                   ผู้อื่นและตนเอง ซึ่งเป็นผลโดยตรงต่อควำมส�ำเร็จในชีวิตและควำมสัมพันธ์อันดี                       มีสันดำนสร้ำงสรรค์ ท�ำให้คิดเป็น ท�ำเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหำเป็น อยู่กับคนอื่นเป็น
                                   กับผู้อื่นและเชื่อมั่นในตนอง                                                                    และมีควำมสุขเป็น ซึ่งเป็นเรื่องที่ท�ำแทนกันไม่ได้ เป็นเรื่องที่ “ใครท�ำใครได้”

                                                                                                                                   กำรสร้ำงวินัยเชิงบวกไม่ใช่เรื่องยำก เทคนิคต่อไปนี้เป็นวิธีกำรสร้ำงวินัยเชิงบวก
                                       การสร้างวินัยเชิงบวกจึงมีเป้าหมายสูงสุดอยู่ที่การสร้างวินัยในตนเอง เคารพ                    ให้เด็กเล็กที่สำมำรถปรับมำใช้กับวัยรุ่นได้เช่นกัน ดังนี้

                                   ตนเองโดยไม่ต้องมีใครบังคับให้ท�า และต้องท�าไปบนฐานความสัมพันธ์ที่ดี

                                                                                                                                       1.  ท�ำให้ “เรื่องดีๆ” ที่วัยรุ่นท�ำได้ให้เป็นเรื่องใหญ่ ชื่นชมอย่ำงเฉพำะเจำะจง
                                                                                                                                         ในเรื่องนั้นแบบตัวต่อตัว ขอบคุณเมื่อท�ำสิ่งที่ผู้ใหญ่คำดหวังได้ดี
                                                     1. มุ่งรักษาความสัมพันธ์เป็นหลัก มีน�้าใจ                                         2.  มองตำกันเมื่อคุยกัน ท�ำให้เด็กรู้สึกได้รับควำมใส่ใจ มีคุณค่ำและเชื่อใจ ซึ่งจะ

                                                     2. มุ่งสร้างวินัยในตนเอง สร้างคุณค่าในตนเอง
                  การสร้างวินัยเชิงบวก                 (self-esteem, self-worth)                                                         ท�ำให้ทักษะสมอง EF ท�ำงำนได้ดี

                   มุ่งไปที่ 4 เรื่องคือ             3. มุ่งสร้างทักษะชีวิต (life skills) ความรับผิดชอบ                                3.  ให้ทำงเลือกเชิงบวก ไม่สั่งหรือบังคับ ท�ำให้เด็กคิดเป็น ฝึกทักษะให้เด็ก

                                                     4. มุ่งสร้างการเรียนรู้ กระบวนการคิด การตัดสินใจ                                    ตัดสินใจ มีควำมคิดยืดหยุ่น ใช้ชีวิตกับสิ่งที่มีอยู่ได้ ใช้สถำนกำรณ์ให้เด็ก
                                                       การประเมินตนเอง                                                                   รับผิดชอบในสิ่งที่เลือก
                                                                                                                                       4.  “ห้ำม ไม่ อย่ำ หยุด” ถือเป็นค�ำต้องห้ำม

                                                                                                                                       5.  ให้ควำมส�ำคัญ มอบหน้ำที่ให้รับผิดชอบ และชื่นชม
                                                                                                                                       6.  กระซิบ ไม่ตะโกนใส่ มนุษย์มีสัญชำตญำณในกำรปกป้องตัวเอง เด็กจะตัด

                                                                                                                                         ควำมสัมพันธ์ แต่ถ้ำเป็นเสียงกระซิบจะใส่ใจฟัง





            96                                                                                                                                                                                                                    97
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101