ในช่วงปฐมวัย (แรกเกิด-6 ปี) เป็นวัยทองของการพัฒนาทักษะ EF ที่พ่อแม่และครูอนุบาลจะต้องช่วยเด็กในวัยนี้ให้พัฒนาทักษะ EF เพื่อให้เด็กมีความพร้อมกับการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้นต่อไป
มีงานวิจัยจากการประเมินผลของโครงการ Chicago School Readiness ชี้ว่าทักษะ EF ของเด็กที่พัฒนาในช่วงวัยอนุบาล สามารถทำนายถึงความสำเร็จในวิชาคณิตศาสตร์และการอ่านในเวลาอีก 3 ปีต่อมา ยิ่งไปกว่านั้นทักษะ EF ยังแสดงถึงความพร้อมในการเข้าเรียนได้ดีกว่าการวัด IQ ของเด็ก
ทักษะ EF ในเด็กไม่ว่าการมีสมาธิจดจ่อในงานที่ผู้ใหญ่มอบหมายให้การวางแผน...
งานวิจัยที่พบว่า การฝึกออกกำลังกายแบบแอโรบิกเป็นกิจกรรมที่ให้ผลในการพัฒนา EF ทั้งในเด็ก วัยหนุ่มสาว และผู้สูงอายุ
วารสาร Psychonomic Bulletin and Review ได้ตีพิมพ์บทความ “Benefits of Regular Aerobic Exercise for Executive Functioning in Healthy Populations” ชี้ว่า มีหลักฐานมากมายที่บอกว่าการออกกำลังกายแบบแอโรบิกสม่ำเสมอเป็นวิธีง่ายๆ...
"ถ้าอยากให้คนธรรมดา มี EF ก็… “ ทำให้ EF เป็นของธรรมดา”ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
คุณค่าและความหมายที่แท้จริงของ EF คือ EF เป็นเรื่องความสามารถของคน ความสามารถในการบังคับสัญชาตญาณอย่างสัตว์ได้ สัญชาตญาณสัตว์นั้นมีเพื่อการอยู่รอด เพื่อไม่ถูกจับกิน เป็นส่วนของสมองที่ต้องทำงานไวมาก แต่ EF เป็นส่วนที่ทำให้เกิดความยั้งคิด เมื่อเกิดความยั้งคิด ไม่หุนหันพลันแล่น ไม่ถูกกระตุ้นโดยสิ่งเร้าที่ไม่ถูกต้อง...
จากการวิจัยหลักสูตรใหม่ของ Tools of the Mind, ที่สอนเด็กในเรื่อง “self-regulation.” พบว่าแทนที่จะให้รางวัลเมื่อเด็กทำตามคำสั่งของครูเท่านั้น แนวทาง ToM จะส่งเสริมให้เด็กทำงานโครงการด้วยกัน(ไม่ว่าเด็กจะมาจากพื้นฐานทางเศรษฐกิจสังคมอย่างไร) ให้ส่งเสริมการเรียนรู้ของกันและกันให้แนะนำติชมกันและกัน ขณะเดียวกันก็ให้แต่ละคนสร้างเอกลักษณ์ของตนเอง วิจารณ์ข้อบกพร่องของตนเอง แก้ไขความผิดพลาดของตนเอง และให้วางแผนว่าจะสร้างหรือเปลี่ยนกระบวนการทำโครงการนั้นๆ อย่างไรให้ดีClancy Blair, Early Childhood Education That Focuses On...