หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
สาระน่ารู้ EF
เกี่ยวกับ EF
EF สำหรับพ่อ-แม่
EF สำหรับคุณครู
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
บทความจากนักวิชาการ
งานวิจัย EF
ร้านหนังสือ
ซื้อสินค้า
แจ้งชำระเงิน
ดาวน์โหลด
EF E-Book
เอกสาร และสื่อ
Sign in
Welcome!
Log into your account
ชื่อผู้ใช้ของคุณ
รหัสผ่านของคุณ
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
Create an account
Sign up
Welcome!
ลงทะเบียนสำหรับบัญชี
อีเมล์ของคุณ
ชื่อผู้ใช้ของคุณ
รหัสผ่านจะถูกอีเมล์ถึงคุณ
Password recovery
กู้คืนรหัสผ่านของคุณ
อีเมล์ของคุณ
ค้นหา
Sign in
ยินดีต้อนรับ! เข้าสู่ระบบบัญชีของคุณ
ชื่อผู้ใช้ของคุณ
รหัสผ่านของคุณ
Forgot your password? Get help
Create an account
Create an account
Welcome! Register for an account
อีเมล์ของคุณ
ชื่อผู้ใช้ของคุณ
รหัสผ่านจะถูกอีเมล์ถึงคุณ
Password recovery
กู้คืนรหัสผ่านของคุณ
อีเมล์ของคุณ
รหัสผ่านจะถูกอีเมล์ถึงคุณ
สอบถามการใช้งานระบบ?
(02)913 - 7555 กด 4104
ฝ่ายบริการสมาชิกเว็บไซต์
Sign in / Join
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
สาระน่ารู้ EF
เกี่ยวกับ EF
EF สำหรับพ่อ-แม่
EF สำหรับคุณครู
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
บทความจากนักวิชาการ
งานวิจัย EF
ร้านหนังสือ
ซื้อสินค้า
แจ้งชำระเงิน
ดาวน์โหลด
EF E-Book
เอกสาร และสื่อ
Search
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
สาระน่ารู้ EF
เกี่ยวกับ EF
EF สำหรับพ่อ-แม่
EF สำหรับคุณครู
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
บทความจากนักวิชาการ
งานวิจัย EF
ร้านหนังสือ
ซื้อสินค้า
แจ้งชำระเงิน
ดาวน์โหลด
EF E-Book
เอกสาร และสื่อ
Search
หน้าแรก
แท็ก
SelfMonitoring
Tag:
SelfMonitoring
EF สำหรับคุณครู
ช่วยเด็กสร้างการกำกับควบคุมตนเองและทักษะการวางเป้าหมาย
10/03/2018
วิธีการที่จะช่วยสร้างเสริมความสามารถในการกำกับควบคุมตนเองและการวางแผนของเด็ก วิธีการที่จะช่วยสร้างเสริมความสามารถในการกำกับควบคุมตนเองและการวางแผนของเด็กมาให้คุณครูได้นำไปปรับใช้ ดังนี้ - สร้างสัญลักษณ์ที่จะช่วยเตือนใจเด็ก เช่น เสียงเพลงที่ดังขึ้น หมายความว่า เขาต้องเริ่มลงมือทำการบ้านได้แล้ว เป็นต้น - ให้เด็กพูดทบทวนเตือนใจตัวเอง - ฝึกให้เขาให้รางวัลตนเอง เช่น ถ้าทำการบ้านเสร็จ จะออกไปวิ่งเล่น - ชวนเด็กวางแผนพัฒนา EF ด้านที่อ่อนแอ - ติดตามงานของเด็ก เพื่อประคับประคองไม่ให้เบี่ยงเบนออกนอกเส้นทางที่วางไว้ - ฝึกให้เด็กใช้บอร์ดสำหรับติดบันทึก ตารางแผนงาน หรือบันทึกในสมุดบันทึกจนเป็นนิสัย วิธีการเหล่านี้หากทำสม่ำเสมอก็จะสร้าง EF ให้แข็งแรง...
อ่านเพิ่มเติม
EF สำหรับพ่อ-แม่
เด็กอย่างนี้มิใช่หรือ ที่พ่อแม่ ครู และสังคมต้องการ?
01/02/2018
การที่เด็กได้รับโอกาสพัฒนา EF นอกจากจะเป็นประโยชน์ต่อตัวเด็กเองแล้ว สังคมยังได้รับประโยชน์ด้วย เพราะจะเป็นการสร้างบุคคลที่มีคุณภาพ มีพฤติกรรมเชิงบวกและเลือกตัดสินใจในทางที่สร้างสรรค์ต่อตัวเอง ครอบครัว และส่วนรวมทักษะความสามารถ EF มีความสำคัญต่อการเติบโตของลูกอย่างยิ่ง หากเด็กได้รับโอกาสพัฒนา EF นอกจากจะเป็นประโยชน์ต่อตัวเด็กเองแล้ว สังคมยังได้รับประโยชน์ด้วย เพราะจะเป็นการสร้างบุคคลที่มีคุณภาพ มีพฤติกรรมเชิงบวกและเลือกตัดสินใจในทางที่สร้างสรรค์ต่อตัวเอง ครอบครัว และส่วนรวม หากเด็กได้รับการสร้างเสริมทักษะ EF เขาจะ.. มีความจำดี มีสมาธิจดจ่อสามารถทำงานต่อเนื่องจนเสร็จรู้จักการวิเคราะห์ มีการวางแผนงานอย่างเป็นระบบ...
อ่านเพิ่มเติม
EF สำหรับพ่อ-แม่
เด็กจะเรียนได้ดี ต้องมีพลังในการกำกับตนเองเสียก่อน
01/02/2018
พลังของการกำกับตนเองสู่เป้าหมายเป็นทักษะที่มีค่าอย่างยิ่งที่จะช่วยให้เด็กกระทำการใดๆ สำเร็จลุล่วง บรรลุเป้าหมายที่ตนตั้งไว้ Jessica Lahey นักจิตวิทยาของมหาวิทยาลัยโคโลราโด ได้เขียนบทความเกี่ยวกับ Self-Directed Executive Functions หรือความสามารถในการตั้งเป้าหมายและกำกับตนเองให้ปฏิบัติจนสัมฤทธิ์ผล ไว้ว่า พลังของการกำกับตนเองสู่เป้าหมายเป็นทักษะที่มีคุณค่าอย่างยิ่ง ที่จะช่วยให้เด็กทำการงานใดๆ ให้สำเร็จลุล่วงเป้าหมายที่ตนเองได้ตั้งไว้ เธอยังกล่าวไว้ว่าครูอนุบาลรู้ดีว่าการกำกับตนเอง (Self-Regulation) เป็นความสามารถที่สำคัญที่สุดในการเตรียมเด็กอนุบาลให้พร้อมกับการเรียนในระดับประถม ซึ่งปกติแล้วมักจะพบว่าเด็กจำนวนมากตอนเริ่มการเรียนในชั้นประถมยังมีความสามารถในการกำกับตนเองในระดับต่ำ งานวิจัยพบว่า ความสามารถในการกำกับตนเองในช่วงปฐมวัยมีความสำคัญต่อความพร้อมในการเรียนมากกว่า IQ หรือทักษะในเรื่องคณิตศาสตร์หรือการอ่านเสียอีก และเกี่ยวข้องกับอย่างมากกับความสำเร็จในการเรียนในอนาคตเด็กที่พัฒนา EF...
อ่านเพิ่มเติม
EF สำหรับพ่อ-แม่
แนวทางการพัฒนาการกำกับตนเองสู่เป้าหมาย
01/02/2018
เป็นปัจจัยสำคัญยิ่งต่อการเติบโตของลูก การพัฒนาทักษะความสามารถในการกำกับตนเองสู่เป้าหมาย (Self-Directed Executive Functions) จะเกิดขึ้นได้จากการที่ผู้ใหญ่เปิดโอกาสให้เด็กเป็นผู้กำหนดการกระทำด้วยตนเอง จะทำอย่างไร เมื่อไร เพื่อให้บรรลุเป้าหมายนั้น การกำกับตนเองสู่เป้าหมาย (Self-Directed Executive Functions) เป็นทักษะความสามารถ EF ที่จะเกิดขึ้นได้จากการที่ผู้ใหญ่เปิดโอกาสให้เด็กเป็นผู้กำหนดการกระทำด้วยตนเอง ให้เด็กกำหนดกติกาด้วยตัวเองว่าจะทำอย่างไร เมื่อไร เพื่อให้บรรลุเป้าหมายนั้น แนวทางที่คุณพ่อคุณแม่สามารถนำไปปรับใช้กับลูกได้มีดังนี้ การเล่นบทบาทสมมติ ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Vygotsky กล่าวว่าต้องมีเป้าหมายให้ผู้เรียนสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ผู้สอนควรตระหนักว่าเป้าหมายที่แท้จริงก็เพื่อให้ผู้เรียนมีอิสระในการเรียนรู้และสามารถกำกับตนเอง...
อ่านเพิ่มเติม
EF สำหรับพ่อ-แม่
เกมฝึกสมาธิจดจ่อ ควบคุมกำกับตนเอง
31/01/2018
กิจกรรมสร้างเสริมทักษะความสามารถด้านการมีสมาธิจดจ่อ การกำกับควบคุมตัวเอง กิจกรรมสร้างเสริมให้เด็กเรียนรู้ได้ดี มีสมาธิจดจ่อ กำกับควบคุมตัวเองให้ตั้งใจฟัง อ่าน เขียนและทำงานตามที่ได้รับมอบหมายได้ ลองนำไปใช้กัน เช่น การเล่านิทาน / อ่านหนังสือ เด็กได้ฝึกการตั้งใจฟัง คิดตามเรื่องราว เก็บข้อมูลไว้ในความทรงจำ ถ้าครูให้เด็กเล่าย้อนกลับบ้าง ตั้งคำถามชวนเกมนักสืบ เช่น “พ่อกำลังสืบหาอะไรสักอย่างในห้องนี้ ที่เป็นสีน้ำตาล...” “แม่กำลังสืบหาอะไรสักอย่างบนถนนนี้ที่มีสองล้อ..อยู่ไหนนะ”เกมค้นหาอะไรเอ่ย เช่น “สัตว์อะไรเอ่ยที่มีชื่อออกเสียงคล้าย”หมู”....”ผักผลไม้อะไรบ้างที่มีสีเหลือง”เกมต่อจิ๊กซอว์ หาจิ๊กซอว์มาให้ลูกต่อ เริ่มจากง่ายแล้วค่อยยากขึ้นทีละน้อยเกมเก้าอี้ดนตรี...
อ่านเพิ่มเติม
EF สำหรับพ่อ-แม่
วางกรอบให้เด็กมากไป เด็กจะไม่รู้จักกำกับสั่งการตัวเอง
31/01/2018
งานวิจัยที่แสดงให้เห็นว่า เด็กที่มีอิสระในการคิดเอง ทำกิจกรรมเองจะเติบโตเป็นคนที่เรียนรู้ได้ดี มีอนาคตดีกว่าเด็กที่ผู้ใหญ่วางกรอบปฏิบัติให้ทุกอย่างจากผลการศึกษาของนักจิตวิทยามหาวิทยาลัยโคโลราโดและมหาวิทยาลัยเดนเวอร์ ที่ศึกษาตารางของเด็กอายุ 6 ขวบจำนวน 70 คน พบว่า หากเด็กต้องรับผิดชอบการตัดสินในด้วยตัวเองในกิจกรรมที่ครูวางกรอบปฏิบัติน้อย เด็กจะเรียนรู้ได้มากกว่าและมีการพัฒนา EF ในด้านการกำกับสั่งการตนเองได้ดีกว่า เด็กที่ครูวางกรอบปฏิบัติทั้งหมด ที่ใช้ในการกำกับสั่งการตนเอง พัฒนาเป็นอย่างมากในช่วงวัยเด็กเล็ก รวมถึงกระบวนการคิดที่ช่วยให้บรรลุสู่เป้าหมาย เช่น การวางแผน การตัดสินใจ การหยิบใช้ข้อมูล การปรับเปลี่ยนงาน...
อ่านเพิ่มเติม
EF สำหรับพ่อ-แม่
การแสดงละครบทบาทสมมุติกับการกำกับควบคุมตนเอง
31/01/2018
งานวิจัยที่พบว่า การแสดงละครบทบาทสมมุติ มีผลต่อการพัฒนาการกำกับควบคุมตนเอง และเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อเด็กที่มีปัญหาขาดความยั้งคิด หรือเด็กที่กำกับควบคุมตนเองไม่ค่อยได้ จากงานวิจัยพบว่า การแสดงละครบทบาทสมมุติ (Complex Socio-Dramatic Play) มีผลต่อการพัฒนาการกำกับควบคุมตนเองและเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อเด็กที่มีปัญหาขาดความยั้งคิดนักวิจัยยังพบว่า การเล่นละครนอกจากให้ผลในเรื่องการกำกับควบคุมตนเองแล้วยังส่งผลดีด้านอื่นๆ ด้วย เช่น ช่วยพัฒนาความจำ เพราะในขณะแสดงบทไปตามเรื่องราวของละคร เด็กจะค้นพบว่ามีการเชื่อมโยงข้อมูลที่มีความหมายทำให้พวกเขาจดจำได้ ยิ่งไปกว่านั้นยังพบว่าการเล่นละครของเด็กๆต้องใช้ EF ทุกด้านอย่างฉับพลันทันที นอกจากต้องจำบทบาทของตนเองได้ (Working Memory) ยังต้องจำบทบาทของคนอื่นได้ด้วย...
อ่านเพิ่มเติม
EF สำหรับพ่อ-แม่
ช่วยเด็กสร้างการกำกับควบคุมตนเองและทักษะการวางเป้าหมาย
30/01/2018
วิธีการที่จะช่วยสร้างเสริมความสามารถในการกำกับควบคุมตนเองและการวางแผนของเด็ก วิธีการที่จะช่วยสร้างเสริมความสามารถในการกำกับควบคุมตนเองและการวางแผนของเด็ก ให้กับคุณพ่อคุณแม่ได้นำไปปรับใช้ได้ดังต่อไปนี้ สร้างสัญลักษณ์ที่จะช่วยเตือนใจเด็ก เช่น เสียงเพลงที่ดังขึ้น หมายความว่า เขาต้องเริ่มลงมือทำการบ้านได้แล้ว เป็นต้นให้เด็กพูดทบทวน เตือนใจตัวเองฝึกเด็กให้รางวัลตนเอง เช่น ถ้าทำการบ้านเสร็จแล้วได้ออกไปวิ่งเล่น ถ้าตั้งใจทำงานชิ้นนี้ เดี๋ยวจะได้กินไอศกรีมชวนเด็กวางแผนพัฒนา EF ด้านที่อ่อนแอ ว่าจะแก้ไขปรับปรุงอย่างไร แล้วร่วมมือกันติดตามงานของเด็ก เพื่อประคับประคองไม่ให้เบี่ยงเบนออกนอกเส้นทางที่วางไว้ฝึกให้เด็กใช้บอร์ดสำหรับติดบันทึก ตารางแผนงานหรือบันทึกในสมุดบันทึกจนเป็นนิสัยวิธีการเหล่านี้หากทำสม่ำเสมอ เด็กจะรู้จักควบคุมตนเองให้ทำงานจนสำเร็จลุล่วง รู้จักวางแผน จัดระบบการทำงานของตนเอง เป็นการสร้าง EF...
อ่านเพิ่มเติม
1
2
หน้า 1 ของ 2
Stay Connected
22,878
แฟนคลับ
ชอบ
2,506
ผู้ติดตาม
ติดตาม
19,800
สมาชิก
บอกรับเป็นสมาชิก
- Advertisement -
Latest Articles
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 10): สมองเด็กในภาวะสงคราม
19/05/2022
สมองเด็กในภาวะสงคราม สมองของเด็กประมาณ 90 % พัฒนาในช่วงอายุ 5 ขวบ นั่นหมายความว่า เด็กคนหนึ่งที่จะเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ จะเป็นคนเช่นไรนั้น ประสบการณ์ชีวิตตั้งแต่เกิดมาถึง 5 ขวบมีบทบาทสำคัญในการกำหนดความสามารถในการเรียนรู้ ทักษะการทำงานของสมองขั้นสูง (Executive Function: EF) สุขภาพทั้งทางกายและใจ รวมทั้งความสำเร็จในชีวิตที่เหลือทั้งหมด เด็กที่เกิดและเติบโตขึ้นท่ามกลางภาวะสงคราม เช่นที่เกิดในยูเครนขณะนี้ หรือเกิดในช่วงสงครามซีเรียและสงครามอื่นๆ ทั่วโลก ต่างมีประสบการณ์ที่เลวร้ายในช่วงต้นของชีวิต ทั้งประสบการณ์ความรุนแรงโดยตรงที่เจอกับตนเอง...
อ่านเพิ่มเติม
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 9) : กิจกรรมฝึกฝน EF ในเด็กวัย 18-36 เดือน
19/05/2022
กิจกรรมฝึกฝน EF ในเด็กวัย 18-36 เดือน เด็กวัยขวบครึ่งเริ่มพูดได้ไปจนถึงอายุ 3 ขวบ (18-36 เดือน) เป็นช่วงเวลาที่การพัฒนาการด้านภาษาเป็นไปอย่างรวดเร็ว ภาษาจึงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function: EF) และการควบคุมตนเอง ภาษาเป็นเครื่องมือที่ทำให้เด็กได้สะท้อนความคิดและการกระทำของตนเอง วางแผนการทำสิ่งต่างๆในสมอง และยังเป็นเครื่องมือที่ช่วยทำให้เด็กสามารถไปเข้าใจและสามารถทำตามกฎเกณฑ์ที่ซับซ้อนขึ้นได้ ในช่วงวัยนี้ หากครอบครัวใดที่พ่อแม่มาจากครอบครัวที่ใช้ภาษาต่างกัน หรือสามารถใช้ภาษากับลูกทั้ง 2 ภาษาเป็นเรื่องดีที่จะใช้ประโยชน์จากภาษาที่แตกต่างกันในการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า เมื่อเด็กเริ่มหัดเดิน...
อ่านเพิ่มเติม
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 8) : การฝึกฝน EF ในเด็กวัย 6-18 เดือน
19/05/2022
การฝึกฝน EF ในเด็กวัย 6-18 เดือน ทักษะเชิงบริหารของสมองส่วนหน้า (Executive Functions: EF) เป็นทักษะสำคัญของชีวิตในการดำเนินภารกิจในแต่ละวันให้บรรลุเป้าหมาย ไม่ว่าจะเป็นการเรียน การทำงาน ความสัมพันธ์กับผู้อื่น และการพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ การทำงานของทักษะนี้เปรียบได้ง่ายๆเหมือนกับศูนย์บังคับการบิน ที่คอยจัดการให้เครื่องบินแต่ละลำขึ้นและลงจอดได้อย่างเป็นระเบียบและปลอดภัยในสนามบิน ทักษะสมองส่วนนี้ทำหน้าที่ดึงเอาข้อมูลและประสบการณ์เดิมที่เรามีอยู่ในสมองออกมาใช้เมื่อถึงเวลาที่ต้องการเพื่อทำงานให้เสร็จสิ้น ทำให้สามารถจดจ่ออยู่สิ่งที่อยู่ตรงหน้าและเป้าหมาย กรองเอาสิ่งเร้าที่ไม่จำเป็นและขัดขวางการทำงานออกไป และสามารถปรับเปลี่ยนความคิดและการกระทำเมื่อสถานการณ์ต่างไปเพื่อไปให้ถึงเป้าหมายที่ตั้ง หรือแม้แต่ปรับเปลี่ยนเป้าหมายเมื่อจำเป็น สมองใช้ทักษะเชิงบริหารของสมองส่วนหน้า (EF) ในการกำหนดเป้าหมาย ริเริ่มดำเนินการและวางแผนตลอดจนวิธีการที่จะตอบสนองต่อสถานการณ์และประเมินความคืบหน้าในการมุ่งสู่เป้าหมายอีกด้วย ...
อ่านเพิ่มเติม
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 7) : ดนตรีกับการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า EF
19/05/2022
ดนตรีกับการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า EF การศึกษาวิจัยว่าดนตรีมีส่วนในการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function) เพิ่มขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา มีการศึกษาที่ยืนยันว่าการฝึกฝนเล่นดนตรีประเภทต่างๆ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสมอง นักดนตรีมืออาชีพและผู้เชี่ยวชาญทางดนตรีที่ได้รับการฝึกฝนมาตั้งแต่ยังเล็ก และเล่นดนตรีมานานเกินกว่าสิบปีนั้นถูกค้นพบจากการทำงานสำรวจวิจัยของ Katherine-moore และทีมว่า เป็นผู้ที่มีความสามารถในการคิดเชิงนามธรรมและแก้ปัญหาได้ดี อีกทั้งงานวิจัยพบว่านักดนตรีมืออาชีพมีผลคะแนนที่ดีอย่างเห็นได้ชัด เมื่อทำการทดสอบทักษะสมองส่วนหน้าด้านความจำเพื่อใช้งาน การจดจ่อใส่ใจ และกระบวนการคิดที่รวดเร็ว ซึ่งทักษะเหล่านี้แม้แต่นักดนตรีสมัครเล่นก็ทำการทดสอบทักษะดังที่กล่าวมาแล้วได้ดีกว่าคนที่ไม่เล่นดนตรี คำว่า “อันดนตรี มีคุณทุกอย่างไป” จึงเป็นคำที่ไม่กล่าวเกินเลย เพราะแม้แต่การฝึกฝนไม่เท่าไหร่ ก็ยังสามารถทำให้ทักษะ EF...
อ่านเพิ่มเติม
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 6) : พัฒนา EF ด้วยการเล่นอย่างเป็นระบบ
19/05/2022
พัฒนา EF ด้วยการเล่นอย่างเป็นระบบ สมองส่วนหน้าบริเวณหลังหน้าผาก เป็นสมองส่วนของการคิดขั้นสูงที่มีทักษะเชิงบริหารจัดการ (Executive Function: EF) ที่ทำงานกำกับการวางแผนและกำกับการกระทำของเราเกี่ยวข้องกับความคิด อารมณ์ที่เกิดขึ้น โดยมีทักษะพื้นฐานของสมองส่วนนี้อยู่ 3 ทักษะคือ 1. ทักษะจำเพื่อใช้งาน (Working Memory) 2. ทักษะยั้งคิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) และ 3. ทักษะยืดหยุ่นความคิด (Cognitive...
อ่านเพิ่มเติม
โหลดเพิ่มเติม