หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
สาระน่ารู้ EF
เกี่ยวกับ EF
EF สำหรับพ่อ-แม่
EF สำหรับคุณครู
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
บทความจากนักวิชาการ
งานวิจัย EF
ร้านหนังสือ
ซื้อสินค้า
แจ้งชำระเงิน
ดาวน์โหลด
EF E-Book
เอกสาร และสื่อ
Sign in
Welcome!
Log into your account
ชื่อผู้ใช้ของคุณ
รหัสผ่านของคุณ
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
Create an account
Sign up
Welcome!
ลงทะเบียนสำหรับบัญชี
อีเมล์ของคุณ
ชื่อผู้ใช้ของคุณ
รหัสผ่านจะถูกอีเมล์ถึงคุณ
Password recovery
กู้คืนรหัสผ่านของคุณ
อีเมล์ของคุณ
ค้นหา
Sign in
ยินดีต้อนรับ! เข้าสู่ระบบบัญชีของคุณ
ชื่อผู้ใช้ของคุณ
รหัสผ่านของคุณ
Forgot your password? Get help
Create an account
Create an account
Welcome! Register for an account
อีเมล์ของคุณ
ชื่อผู้ใช้ของคุณ
รหัสผ่านจะถูกอีเมล์ถึงคุณ
Password recovery
กู้คืนรหัสผ่านของคุณ
อีเมล์ของคุณ
รหัสผ่านจะถูกอีเมล์ถึงคุณ
สอบถามการใช้งานระบบ?
(02)913 - 7555 กด 4104
ฝ่ายบริการสมาชิกเว็บไซต์
Sign in / Join
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
สาระน่ารู้ EF
เกี่ยวกับ EF
EF สำหรับพ่อ-แม่
EF สำหรับคุณครู
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
บทความจากนักวิชาการ
งานวิจัย EF
ร้านหนังสือ
ซื้อสินค้า
แจ้งชำระเงิน
ดาวน์โหลด
EF E-Book
เอกสาร และสื่อ
Search
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
สาระน่ารู้ EF
เกี่ยวกับ EF
EF สำหรับพ่อ-แม่
EF สำหรับคุณครู
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
บทความจากนักวิชาการ
งานวิจัย EF
ร้านหนังสือ
ซื้อสินค้า
แจ้งชำระเงิน
ดาวน์โหลด
EF E-Book
เอกสาร และสื่อ
Search
หน้าแรก
EF สำหรับคุณครู
EF สำหรับคุณครู
EF DOWNLOAD
EF สำหรับคุณครู
EF สำหรับพ่อ-แม่
EF-INFOGRAPHIC
FAQ-VDO
News
ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ #10
21/03/2022
EF สำหรับคุณครู
เกมฝึกสมาธิจดจ่อ ควบคุมกำกับตนเอง
12/03/2018
กิจกรรมสร้างเสริมทักษะความสามารถด้านการมีสมาธิจดจ่อ การกำกับควบคุมตัวเอง เชื่อว่าคุณครูทุกคนอยากให้นักเรียนตั้งใจฟังเวลาคุณครูพูด สอน รู้จักหยุดการกระทำตนเองในเวลาที่คุณครูต้องการให้หยุด ซึ่งเด็กจะเรียนรู้ได้ดีก็เพราะมีสมาธิจดจ่อ กำกับควบคุมตัวเองได้ เรามีกิจกรรมสร้างเสริมทักษะความสามารถด้านนี้มาฝาก ลองนำไปใช้กับเด็กๆ ดูกันค่ะ 1. เกมมาเดากันเถอะ เช่น “สัตว์อะไรเอ่ยที่มีชื่อออกเสียงคล้าย หมู” 2. เกมสายลับ เช่น “พ่อกำลังสืบหาอะไรสักอย่างในห้องนี้ ที่เป็นสีน้ำตาล” “แม่กำลังสืบหาอะไรสักอย่างบนถนนนี้ที่มีสองล้อ..อยู่ไหนนะ” 3. เกมต่อจิ๊กซอว์ เริ่มจากง่ายแล้วค่อยยากขึ้นทีละน้อย 4. เกมเก้าอี้ดนตรี 5. เกมโมราเรียกชื่อ 6. เกมถือระฆัง ครูให้เด็กถือระฆังคนละอัน...
อ่านเพิ่มเติม
EF สำหรับคุณครู
วิธีจัดระบบและวางแผนงานที่ทุกคนทำได้
12/03/2018
คนเราจะทำงานให้สำเร็จลุล่วงได้ ต้องรู้จักวางแผนและมีระบบการทำงาน แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่ทุกคนจะทำได้ ดร.คิม คอลลินส์ (Kim Collins) ได้แนะวิธีพัฒนาทักษะความสามารถในการวางแผนและจัดระบบ (Planning/Organizing) อย่างง่ายๆ ที่ทุกคนสามารถนำไปใช้กับการทำงานได้ทุกประเภท ดร.คิม คอลลินส์ (Kim Collins) ได้แนะวิธีพัฒนาทักษะความสามารถในการวางแผนและจัดระบบ (Planning/Organizing) อย่างง่ายๆ ที่ทุกคนสามารถนำไปใช้กับการทำงานได้ทุกประเภท ดังนี้ ทำให้ง่าย (Simplify)โดย - แตกกิจกรรมที่ยากๆ ออกเป็นขั้นตอนง่ายๆ - เขียนขั้นตอนเหล่านี้ให้ชัดเจน แล้วคอยติดตาม...
อ่านเพิ่มเติม
EF สำหรับคุณครู
วางกรอบให้เด็กมากไป เด็กจะไม่รู้จักกำกับสั่งการตัวเอง
12/03/2018
งานวิจัยที่แสดงให้เห็นว่า เด็กที่มีอิสระในการคิดเอง ทำกิจกรรมเองจะเติบโตเป็นคนที่เรียนรู้ได้ดี มีอนาคตดีกว่าเด็กที่ผู้ใหญ่วางกรอบปฏิบัติให้ทุกอย่าง นักจิตวิทยาจากมหาวิทยาลัยโคโลราโดและมหาวิทยาลัยเดนเวอร์ ศึกษาตารางของเด็ก 6 ขวบจำนวน 70 คน แล้วพบว่า หากให้เด็กได้รับผิดชอบตัดสินใจด้วยตนเองในกิจกรรมที่ครูวางกรอบปฏิบัติน้อย คือ ครูไม่ได้กำหนดทุกอย่าง ผลคือ เด็กจะเรียนรู้ได้มากกว่า และมีการพัฒนา EF ในด้านการกำกับสั่งการตนเองได้ดีกว่าเด็กที่ครูวางกรอบปฏิบัติให้หมด EF ที่ใช้ในการกำกับสั่งการตนเองพัฒนาเป็นอย่างมากในช่วงวัยเด็กเล็ก รวมถึงกระบวนการคิดที่ช่วยให้บรรลุสู่เป้าหมาย เช่น การวางแผน การตัดสินใจ...
อ่านเพิ่มเติม
EF สำหรับคุณครู
จากโรงเรียนสู่บ้าน ช่วยกันพัฒนา EF ให้เด็ก
12/03/2018
โรงเรียนและบ้าน คุณครูและผู้ปกครองต้องร่วมมือกัน จึงจะพัฒนา EF ได้ผลดี เช่นเดียวกับการพัฒนาเด็กทุกๆ ด้าน หากโรงเรียนและบ้าน คุณครูและผู้ปกครองร่วมมือกัน การพัฒนา EF ในเด็กจึงจะได้ผลดี มีวิธีการขั้นตอนต่างๆ ที่เด็กควรจะต้องได้รับการดูแลร่วมกันระหว่างโรงเรียนกับที่บ้านดังนี้ 1. เมื่อเด็กมาถึงชั้นเรียน ให้เด็กเอาการบ้านกับสมุดเซ็นของพ่อแม่ออกจากกระเป๋ามาวางไว้บนโต๊ะ 2. คุณครูตรวจเช็คว่าการบ้านเรียบร้อย พ่อแม่เซ็นสมุดหรือไม่ 3. คุณครูเขียนตารางเรียนของวันนี้ไว้บนกระดานให้เห็นชัดๆ และคุณครูอ่านให้ฟังว่าวันนี้เราจะทำอะไรกันบ้าง 4. ให้เด็กๆ นำอุปกรณ์การเรียนไว้ในลิ้นชักโต๊ะ 5. คอยเตือนให้โต๊ะของเด็กๆ ละอาด ไม่มีของวางเกะกะ...
อ่านเพิ่มเติม
EF สำหรับคุณครู
พ่อแม่และคุณครูคือ “นั่งร้าน” ของเด็ก
12/03/2018
ในการพัฒนาเด็ก พ่อแม่และคุณครูจะต้องเป็น "นั่งร้าน" ที่ดีให้เด็ก โดยสร้างกิจวัตรประจำวัน เป็นแบบอย่างพฤติกรรมทางสังคม สร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง บนความสัมพันธ์ที่ไว้วางใจกัน ในการพัฒนาเด็ก สภาพแวดล้อมของเด็กเปรียบเสมือน“นั่งร้าน”ที่จะทำให้อาคารก่อร่างสร้างตัว พ่อแม่ก็คือสิ่งแวดล้อมที่สำคัญของลูก พ่อแม่จะต้องเป็น "นั่งร้าน" ที่ดีให้ก่อน โดย สร้างกิจวัตรประจำวันให้ลูก เป็นแบบอย่างพฤติกรรมทางสังคม สร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง บนความสัมพันธ์ที่ไว้วางใจกัน ครูในศูนย์เด็กเล็กหรือโรงเรียนอนุบาลที่ดูแลเด็กวัย 3-6 ปีก็เปรียบ”นั่งร้าน”ที่มีความสำคัญอย่างมากเป็นผู้ที่จะต้องฝึกฝนคุณลักษณะความสามารถ EF ทั้ง 9 ด้าน ในชีวิตประจำวันของเด็กและในหลักสูตรการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย โดย สร้างกิจวัตรในชีวิตประจำวันที่โรงเรียน ให้รู้จักรอคอย เข้าคิว ให้รู้จักควบคุมอารมณ์ตนเองและแสดงออกอย่างเหมาะสม ฝึกเข้าใจความรู้สึกของตนเอง...
อ่านเพิ่มเติม
EF สำหรับคุณครู
ฝึกเด็กให้รู้จักตั้งเป้าหมายและลงมือทำให้สำเร็จ
12/03/2018
เราสามารถฝึกเด็กให้รู้จักตั้งเป้าหมายและลงมือทำจนสำเร็จได้ตั้งแต่เด็กยังเล็กๆ เช่น ปล่อยให้เด็กมีการเล่นอิสระ (Free Play) เด็กจะตั้งเป้าหมายของเขาเอง เช่น ตั้งใจจะต่อตัวต่อเป็นปราสาท จะปีนต้นไม้ให้ถึงกิ่งนั้นกิ่งนี้ การทำงานศิลปะอย่างอิสระ คุณครูหรือคุณพ่อคุณแม่อาจมีตะกร้าของที่ไม่ใช้แล้ว ไว้ให้เด็กได้นำไปคิดประดิษฐ์สิ่งต่างๆ ซึ่งจะทำให้เด็กได้ใช้ความคิดยืดหยุ่นพลิกแพลงด้วย และเมื่อเด็กสร้างสรรค์ผลงานสำเร็จ ก็จะเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในความสำเร็จจากการลงมือคิด ทำด้วยตัวเอง พอโตขึ้นอีกนิด เด็กจะสามารถขยายการตั้งเป้าหมายและทำงานร่วมกันกับเพื่อน แล้วขยายเป็นการตั้งเป้าหมายและทำงานร่วมกลุ่มกับเพื่อนทั้งห้อง เรื่องนี้ครูก้าหรือคุณครูกรองทอง บุญประคอง แห่งโรงเรียนจิตตเมตต์ปฐมวัยได้ให้คำแนะนำว่า สิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้บนพื้นฐานที่เด็กมีอิสระทางความคิด แต่อยู่ในกรอบของความเหมาะสม เช่น กติกาการเก็บของ...
อ่านเพิ่มเติม
EF สำหรับคุณครู
เด็กจะเป็นอย่างไรถ้าขาดทักษะ EF
12/03/2018
เด็กที่ขาดทักษะ EF มักมีปัญหาพฤติกรรมและขาดทักษะในการบริหารจัดการชีวิต นักจิตวิทยาพัฒนาการ Prof.Dr.Philip David Zelazo ชี้ไว้ว่า “เด็กที่ขาดทักษะ EF มักมีปัญหาพฤติกรรมด้วย เช่น แม้ว่าเด็กจะมีจุดมุ่งหมาย แต่ถ้าไม่สามารถวางแผน ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรม ไม่สามารถประเมินตัวเองได้ก็อาจจะนำไปสู่การกระทำที่ไม่เหมาะสมได้ และไม่รู้ว่าจะจัดการกับผลที่ตามมาอย่างไร” จากคำอธิบายนี้ ทำให้เรามองเห็นว่า ในการทำให้จุดมุ่งหมายใดๆ สำเร็จได้นั้น ใช่ว่าเพียงมีเป้าหมายตั้งไว้แล้ว ทุกอย่างก็จะเดินหน้าไปได้เอง เพราะในการบวนการทำให้เสร็จบรรลุตามเป้าหมายนั้นต้องใช้ทักษะความสามารถอีกหลายอย่าง เช่น ต้องวางแผนว่า...
อ่านเพิ่มเติม
EF สำหรับคุณครู
EF พัฒนาคุณลักษณะเด็กไทยในศตวรรษที่ 21
12/03/2018
การพัฒนา Executive Functions (EF) จะทำให้คนเราเกิดทักษะความสามารถของสมองในการบริหารจัดการชีวิต ซึ่งจะสอดคล้องกับคุณลักษณะพึงประสงค์ของเด็กไทยในศตวรรษที่ 21 สถาบัน RLG ได้จัดการความรู้และเสนอ "คุณลักษณะพึงประสงค์ของเด็กไทยในศตวรรษที่ 21" เมื่อปี พ.ศ. 2553 ว่าได้แก่ Self-Realization = รู้จักตนเองรู้จุดแข็งจุดอ่อน รู้จักอารมณ์ตนเองและสาเหตุของการเกิด อารมณ์นั้นๆ รู้ศักยภาพของตนเอง รู้วิธีจัดการตนเอง Humanity = เห็นคุณค่าในความเป็นมนุษย์ เคารพเพื่อนมนุษย์ เอาใจเขามาใส่ใจเรา Social...
อ่านเพิ่มเติม
โหลดเพิ่มเติม
74,430
แฟนคลับ
ชอบ
7,540
สมาชิก
บอกรับเป็นสมาชิก
- EF Development Tools -
Latest Articles
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 10): สมองเด็กในภาวะสงคราม
19/05/2022
สมองเด็กในภาวะสงคราม สมองของเด็กประมาณ 90 % พัฒนาในช่วงอายุ 5 ขวบ นั่นหมายความว่า เด็กคนหนึ่งที่จะเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ จะเป็นคนเช่นไรนั้น ประสบการณ์ชีวิตตั้งแต่เกิดมาถึง 5 ขวบมีบทบาทสำคัญในการกำหนดความสามารถในการเรียนรู้ ทักษะการทำงานของสมองขั้นสูง (Executive Function: EF) สุขภาพทั้งทางกายและใจ รวมทั้งความสำเร็จในชีวิตที่เหลือทั้งหมด เด็กที่เกิดและเติบโตขึ้นท่ามกลางภาวะสงคราม เช่นที่เกิดในยูเครนขณะนี้ หรือเกิดในช่วงสงครามซีเรียและสงครามอื่นๆ ทั่วโลก ต่างมีประสบการณ์ที่เลวร้ายในช่วงต้นของชีวิต ทั้งประสบการณ์ความรุนแรงโดยตรงที่เจอกับตนเอง...
อ่านเพิ่มเติม
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 9) : กิจกรรมฝึกฝน EF ในเด็กวัย 18-36 เดือน
19/05/2022
กิจกรรมฝึกฝน EF ในเด็กวัย 18-36 เดือน เด็กวัยขวบครึ่งเริ่มพูดได้ไปจนถึงอายุ 3 ขวบ (18-36 เดือน) เป็นช่วงเวลาที่การพัฒนาการด้านภาษาเป็นไปอย่างรวดเร็ว ภาษาจึงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function: EF) และการควบคุมตนเอง ภาษาเป็นเครื่องมือที่ทำให้เด็กได้สะท้อนความคิดและการกระทำของตนเอง วางแผนการทำสิ่งต่างๆในสมอง และยังเป็นเครื่องมือที่ช่วยทำให้เด็กสามารถไปเข้าใจและสามารถทำตามกฎเกณฑ์ที่ซับซ้อนขึ้นได้ ในช่วงวัยนี้ หากครอบครัวใดที่พ่อแม่มาจากครอบครัวที่ใช้ภาษาต่างกัน หรือสามารถใช้ภาษากับลูกทั้ง 2 ภาษาเป็นเรื่องดีที่จะใช้ประโยชน์จากภาษาที่แตกต่างกันในการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า เมื่อเด็กเริ่มหัดเดิน...
อ่านเพิ่มเติม
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 8) : การฝึกฝน EF ในเด็กวัย 6-18 เดือน
19/05/2022
การฝึกฝน EF ในเด็กวัย 6-18 เดือน ทักษะเชิงบริหารของสมองส่วนหน้า (Executive Functions: EF) เป็นทักษะสำคัญของชีวิตในการดำเนินภารกิจในแต่ละวันให้บรรลุเป้าหมาย ไม่ว่าจะเป็นการเรียน การทำงาน ความสัมพันธ์กับผู้อื่น และการพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ การทำงานของทักษะนี้เปรียบได้ง่ายๆเหมือนกับศูนย์บังคับการบิน ที่คอยจัดการให้เครื่องบินแต่ละลำขึ้นและลงจอดได้อย่างเป็นระเบียบและปลอดภัยในสนามบิน ทักษะสมองส่วนนี้ทำหน้าที่ดึงเอาข้อมูลและประสบการณ์เดิมที่เรามีอยู่ในสมองออกมาใช้เมื่อถึงเวลาที่ต้องการเพื่อทำงานให้เสร็จสิ้น ทำให้สามารถจดจ่ออยู่สิ่งที่อยู่ตรงหน้าและเป้าหมาย กรองเอาสิ่งเร้าที่ไม่จำเป็นและขัดขวางการทำงานออกไป และสามารถปรับเปลี่ยนความคิดและการกระทำเมื่อสถานการณ์ต่างไปเพื่อไปให้ถึงเป้าหมายที่ตั้ง หรือแม้แต่ปรับเปลี่ยนเป้าหมายเมื่อจำเป็น สมองใช้ทักษะเชิงบริหารของสมองส่วนหน้า (EF) ในการกำหนดเป้าหมาย ริเริ่มดำเนินการและวางแผนตลอดจนวิธีการที่จะตอบสนองต่อสถานการณ์และประเมินความคืบหน้าในการมุ่งสู่เป้าหมายอีกด้วย ...
อ่านเพิ่มเติม
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 7) : ดนตรีกับการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า EF
19/05/2022
ดนตรีกับการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า EF การศึกษาวิจัยว่าดนตรีมีส่วนในการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function) เพิ่มขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา มีการศึกษาที่ยืนยันว่าการฝึกฝนเล่นดนตรีประเภทต่างๆ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสมอง นักดนตรีมืออาชีพและผู้เชี่ยวชาญทางดนตรีที่ได้รับการฝึกฝนมาตั้งแต่ยังเล็ก และเล่นดนตรีมานานเกินกว่าสิบปีนั้นถูกค้นพบจากการทำงานสำรวจวิจัยของ Katherine-moore และทีมว่า เป็นผู้ที่มีความสามารถในการคิดเชิงนามธรรมและแก้ปัญหาได้ดี อีกทั้งงานวิจัยพบว่านักดนตรีมืออาชีพมีผลคะแนนที่ดีอย่างเห็นได้ชัด เมื่อทำการทดสอบทักษะสมองส่วนหน้าด้านความจำเพื่อใช้งาน การจดจ่อใส่ใจ และกระบวนการคิดที่รวดเร็ว ซึ่งทักษะเหล่านี้แม้แต่นักดนตรีสมัครเล่นก็ทำการทดสอบทักษะดังที่กล่าวมาแล้วได้ดีกว่าคนที่ไม่เล่นดนตรี คำว่า “อันดนตรี มีคุณทุกอย่างไป” จึงเป็นคำที่ไม่กล่าวเกินเลย เพราะแม้แต่การฝึกฝนไม่เท่าไหร่ ก็ยังสามารถทำให้ทักษะ EF...
อ่านเพิ่มเติม
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 6) : พัฒนา EF ด้วยการเล่นอย่างเป็นระบบ
19/05/2022
พัฒนา EF ด้วยการเล่นอย่างเป็นระบบ สมองส่วนหน้าบริเวณหลังหน้าผาก เป็นสมองส่วนของการคิดขั้นสูงที่มีทักษะเชิงบริหารจัดการ (Executive Function: EF) ที่ทำงานกำกับการวางแผนและกำกับการกระทำของเราเกี่ยวข้องกับความคิด อารมณ์ที่เกิดขึ้น โดยมีทักษะพื้นฐานของสมองส่วนนี้อยู่ 3 ทักษะคือ 1. ทักษะจำเพื่อใช้งาน (Working Memory) 2. ทักษะยั้งคิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) และ 3. ทักษะยืดหยุ่นความคิด (Cognitive...
อ่านเพิ่มเติม
โหลดเพิ่มเติม