หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
สาระน่ารู้ EF
เกี่ยวกับ EF
EF สำหรับพ่อ-แม่
EF สำหรับคุณครู
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
บทความจากนักวิชาการ
งานวิจัย EF
ร้านหนังสือ
ซื้อสินค้า
แจ้งชำระเงิน
ดาวน์โหลด
EF E-Book
เอกสาร และสื่อ
Sign in
Welcome!
Log into your account
ชื่อผู้ใช้ของคุณ
รหัสผ่านของคุณ
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
Create an account
Sign up
Welcome!
ลงทะเบียนสำหรับบัญชี
อีเมล์ของคุณ
ชื่อผู้ใช้ของคุณ
รหัสผ่านจะถูกอีเมล์ถึงคุณ
Password recovery
กู้คืนรหัสผ่านของคุณ
อีเมล์ของคุณ
ค้นหา
Sign in
ยินดีต้อนรับ! เข้าสู่ระบบบัญชีของคุณ
ชื่อผู้ใช้ของคุณ
รหัสผ่านของคุณ
Forgot your password? Get help
Create an account
Create an account
Welcome! Register for an account
อีเมล์ของคุณ
ชื่อผู้ใช้ของคุณ
รหัสผ่านจะถูกอีเมล์ถึงคุณ
Password recovery
กู้คืนรหัสผ่านของคุณ
อีเมล์ของคุณ
รหัสผ่านจะถูกอีเมล์ถึงคุณ
สอบถามการใช้งานระบบ?
(02)913 - 7555 กด 4104
ฝ่ายบริการสมาชิกเว็บไซต์
Sign in / Join
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
สาระน่ารู้ EF
เกี่ยวกับ EF
EF สำหรับพ่อ-แม่
EF สำหรับคุณครู
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
บทความจากนักวิชาการ
งานวิจัย EF
ร้านหนังสือ
ซื้อสินค้า
แจ้งชำระเงิน
ดาวน์โหลด
EF E-Book
เอกสาร และสื่อ
Search
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
สาระน่ารู้ EF
เกี่ยวกับ EF
EF สำหรับพ่อ-แม่
EF สำหรับคุณครู
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
บทความจากนักวิชาการ
งานวิจัย EF
ร้านหนังสือ
ซื้อสินค้า
แจ้งชำระเงิน
ดาวน์โหลด
EF E-Book
เอกสาร และสื่อ
Search
หน้าแรก
News
News
EF DOWNLOAD
EF สำหรับคุณครู
EF สำหรับพ่อ-แม่
EF-INFOGRAPHIC
FAQ-VDO
News
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 10): สมองเด็กในภาวะสงคราม
19/05/2022
News
สกศ.นำร่องจัดการเรียนการสอน พัฒนาทักษะสมอง EF เด็กปฐมวัยและเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
28/01/2021
(25 มกราคม 2564) ดร.อุษณีย์ ธโนศวรรย์ รองเลขาธิการสภาการศึกษา เป็นประธานการประชุมวิพากษ์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนาทักษะสมอง (EF) ให้กับเด็กปฐมวัย และเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ณ ศูนย์คุณธรรม กรุงเทพฯดร.อุษณีย์ กล่าวว่า จากการที่ ดร.คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เห็นว่าการพัฒนาทักษะสมอง (Executive Functions หรือ EF) เป็นแนวคิดที่ส่งเสริมและสามารถต่อยอดไปสู่การเรียนการสอนโค้ดดิ้ง...
อ่านเพิ่มเติม
News
CHILDHOOD TRAUMA IN DISRUPTIVE WORLD “ความเจ็บปวดของเด็กในโลกผันผวน”
07/02/2020
สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล ขอเชิญผู้สนใจ เข้าร่วม ประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 6 ประจำปี 2563 ในหัวข้อเรื่อง ? “ความเจ็บปวดของเด็กในโลกผันผวน” : รู้จัก เข้าใจความเจ็บปวดของเด็กในโลกยุคผันผวนและเรียนรู้วิธีการเยียวยาป้องกัน ? (CHILDHOOD TRAUMA IN DISRUPTIVE WORLD : early intervention, the sooner the better) ?ในวันที่ 5-6...
อ่านเพิ่มเติม
News
เด็กไทยเจอวิกฤติด้านการศึกษาที่ต้องได้รับการพัฒนา นักวิทยาศาสตร์พบว่า EF คือหัวใจสำคัญของการพัฒนา
19/03/2018
นางเพ็ญพรรณ จิตตะเสนีย์ ผู้อำนวยการสำนักสนับสนุนสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เปิดเผยว่า โลกเคลื่อนตัวสู่ยุค 4.0 การพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยกำลังเผชิญกับภาวะวิกฤติโดยเฉพาะสถานการณ์ด้านการศึกษา ที่ส่งผลต่อคุณภาพของประชากรโดยตรง หากปล่อยให้สภาพการณ์นี้ดำเนินต่อไป การสร้างคนรุ่นใหม่ที่มีศักยภาพในการนำพาประเทศไปเผชิญกับความท้าทายดังกล่าวจะเป็นไปได้ยาก ทุกภาคส่วนต้องสร้างความร่วมมือ เพื่อหาทางออกและแนวทางแก้ไข ให้เกิดการพัฒนาเด็กและเยาวชนไทย ซึ่งเป็นทุนมนุษย์ของประเทศอย่างจริงจัง จากการศึกษาวิจัยของนักวิทยาศาสตร์นานาชาติ พบว่าการพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนให้เป็นทุนมนุษย์ที่มีคุณภาพ เพื่อตอบโจทย์โลกยุคใหม่ข้างหน้าให้ได้นั้น จำเป็นต้องพัฒนาไปด้วยความเข้าใจต่อธรรมชาติและการทำงานของสมองเป็นสำคัญ ด้วยการหามาให้ความสนใจต่อ Executive Functions หรือ...
อ่านเพิ่มเติม
News
ร่วมกันสร้างทุนมนุษย์…ที่มีคุณภาพ เพื่อตอบโจทย์โลกยุค 4.0
17/03/2018
นางสุภาวดี หาญเมธี ประธานสถาบันอาร์แอลจี (รักลูก เลิร์นนิ่ง กรุ๊ป) กล่าวว่า โลกเคลื่อนตัวสู่ยุค 4.0 การพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยกำลังเผชิญหน้ากับภาวะวิกฤตโดยเฉพาะสถานการณ์ด้านการศึกษา ที่ส่งผลต่อคุณภาพของประชากรโดยตรง หากปล่อยให้สภาพการณ์นี้ดำเนินต่อไป การสร้างคนรุ่นใหม่ที่มีศักยภาพในการนำพาประเทศไปเผชิญกับความท้าทายดังกล่าวจะเป็นไปได้ยาก ทุกภาคส่วนต้องสร้างความร่วมมือ เพื่อหาทางออกและแนวทางแก้ไข ให้เกิดการพัฒนาเด็กและเยาวชนไทย ซึ่งเป็นทุนมนุษย์ของประเทศอย่างจริงจัง จากการศึกษาวิจัยของนักวิทยาศาสตร์นานาชาติ พบว่าการพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนให้เป็นทุนมนุษย์ที่มีคุณภาพ เพื่อตอบโจทย์โลกยุคใหม่ข้างหน้าให้ได้นั้น จำเป็นต้องพัฒนาไปด้วยความเข้าใจต่อธรรมชาติและการทำงานของสมองเป็นสำคัญ Executive Functions (EF) คือชุดกระบวนการทางความคิด (Mental...
อ่านเพิ่มเติม
News
งานแถลงผลโครงการวิจัย ผลการใช้เครื่องมือ EF Guideline ต่อทักษะสมองเพื่อชีวิตที่สำเร็จในเด็กปฐมวัย และการวิจัยเชิงปฏิบัติการวิพากษ์เพื่อการพัฒนาทักษะการสอนของครูปฐมวัยด้วยเครื่องมือ EF Guideline
17/03/2018
ทักษะสมอง EF- Executive Functions คือ กระบวนการทำงานของ สมองระดับสูง ที่ประมวล ประสบการณ์ในอดีต และ สถานการณ์ในปัจจุบัน มาประเมิน วิเคราะห์ ตัดสินใจ วางแผน เริ่มลงมือทำ ตรวจสอบตนเอง และแก้ไขปัญหา ตลอดจนควบคุมอารมณ์ บริหารเวลา จัดความสำคัญ กำกับตนเอง และมุ่งมั่นทำ จนบรรลุ...
อ่านเพิ่มเติม
News
อาร์แอลจี เร่งขับเคลื่อน EF : Executive Functions พัฒนาทักษะสมองเด็กปฐมวัย
20/01/2016
กลุ่มบริษัท อาร์แอลจี (รักลูก เลิร์นนิ่ง กรุ๊ป) จัดงานประชุมวิชาการ RLG Symposium 2015 EF : Executive Functions ทักษะสมองเพื่อชีวิตที่สำเร็จ ร่วมกับ 5 หน่วยงานหลัก คือ ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล, สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ...
อ่านเพิ่มเติม
News
การพัฒนาทักษะสมอง Executive Functions(EF) ในเด็กปฐมวัยด้วยเครื่องมือ”หนังสือและการสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน”
23/05/2015
จากวิกฤตการศึกษาของประเทศไทยที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน หลายฝ่ายต่างตั้งคำถามด้วยความห่วงใยถึงคุณภาพของเด็กและเยาวชนไทยที่ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต สถาบันอาร์แอลจี (รักลูก เลิร์นนิ่ง กรุ๊ป) จึงสนใจมุ่งศึกษาพัฒนาความรู้เรื่อง “ทักษะสมองเพื่อชีวิตที่สำเร็จ EF –Executive Functions”มาตั้งแต่กลางปี 2557 มีองค์กรพันธมิตรอย่างศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล โดย รศ. ดร.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล ผู้เชี่ยวชาญด้านประสาทวิทยาเป็นต้นทางความรู้ที่ได้มีการรวบรวมความรู้จากการวิจัยเกี่ยวกับ EF ต่างๆ มีการจัดประชุมวิชาการความรู้เรื่อง EF...
อ่านเพิ่มเติม
74,430
แฟนคลับ
ชอบ
7,530
สมาชิก
บอกรับเป็นสมาชิก
- EF Development Tools -
Latest Articles
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 10): สมองเด็กในภาวะสงคราม
19/05/2022
สมองเด็กในภาวะสงคราม สมองของเด็กประมาณ 90 % พัฒนาในช่วงอายุ 5 ขวบ นั่นหมายความว่า เด็กคนหนึ่งที่จะเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ จะเป็นคนเช่นไรนั้น ประสบการณ์ชีวิตตั้งแต่เกิดมาถึง 5 ขวบมีบทบาทสำคัญในการกำหนดความสามารถในการเรียนรู้ ทักษะการทำงานของสมองขั้นสูง (Executive Function: EF) สุขภาพทั้งทางกายและใจ รวมทั้งความสำเร็จในชีวิตที่เหลือทั้งหมด เด็กที่เกิดและเติบโตขึ้นท่ามกลางภาวะสงคราม เช่นที่เกิดในยูเครนขณะนี้ หรือเกิดในช่วงสงครามซีเรียและสงครามอื่นๆ ทั่วโลก ต่างมีประสบการณ์ที่เลวร้ายในช่วงต้นของชีวิต ทั้งประสบการณ์ความรุนแรงโดยตรงที่เจอกับตนเอง...
อ่านเพิ่มเติม
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 9) : กิจกรรมฝึกฝน EF ในเด็กวัย 18-36 เดือน
19/05/2022
กิจกรรมฝึกฝน EF ในเด็กวัย 18-36 เดือน เด็กวัยขวบครึ่งเริ่มพูดได้ไปจนถึงอายุ 3 ขวบ (18-36 เดือน) เป็นช่วงเวลาที่การพัฒนาการด้านภาษาเป็นไปอย่างรวดเร็ว ภาษาจึงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function: EF) และการควบคุมตนเอง ภาษาเป็นเครื่องมือที่ทำให้เด็กได้สะท้อนความคิดและการกระทำของตนเอง วางแผนการทำสิ่งต่างๆในสมอง และยังเป็นเครื่องมือที่ช่วยทำให้เด็กสามารถไปเข้าใจและสามารถทำตามกฎเกณฑ์ที่ซับซ้อนขึ้นได้ ในช่วงวัยนี้ หากครอบครัวใดที่พ่อแม่มาจากครอบครัวที่ใช้ภาษาต่างกัน หรือสามารถใช้ภาษากับลูกทั้ง 2 ภาษาเป็นเรื่องดีที่จะใช้ประโยชน์จากภาษาที่แตกต่างกันในการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า เมื่อเด็กเริ่มหัดเดิน...
อ่านเพิ่มเติม
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 8) : การฝึกฝน EF ในเด็กวัย 6-18 เดือน
19/05/2022
การฝึกฝน EF ในเด็กวัย 6-18 เดือน ทักษะเชิงบริหารของสมองส่วนหน้า (Executive Functions: EF) เป็นทักษะสำคัญของชีวิตในการดำเนินภารกิจในแต่ละวันให้บรรลุเป้าหมาย ไม่ว่าจะเป็นการเรียน การทำงาน ความสัมพันธ์กับผู้อื่น และการพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ การทำงานของทักษะนี้เปรียบได้ง่ายๆเหมือนกับศูนย์บังคับการบิน ที่คอยจัดการให้เครื่องบินแต่ละลำขึ้นและลงจอดได้อย่างเป็นระเบียบและปลอดภัยในสนามบิน ทักษะสมองส่วนนี้ทำหน้าที่ดึงเอาข้อมูลและประสบการณ์เดิมที่เรามีอยู่ในสมองออกมาใช้เมื่อถึงเวลาที่ต้องการเพื่อทำงานให้เสร็จสิ้น ทำให้สามารถจดจ่ออยู่สิ่งที่อยู่ตรงหน้าและเป้าหมาย กรองเอาสิ่งเร้าที่ไม่จำเป็นและขัดขวางการทำงานออกไป และสามารถปรับเปลี่ยนความคิดและการกระทำเมื่อสถานการณ์ต่างไปเพื่อไปให้ถึงเป้าหมายที่ตั้ง หรือแม้แต่ปรับเปลี่ยนเป้าหมายเมื่อจำเป็น สมองใช้ทักษะเชิงบริหารของสมองส่วนหน้า (EF) ในการกำหนดเป้าหมาย ริเริ่มดำเนินการและวางแผนตลอดจนวิธีการที่จะตอบสนองต่อสถานการณ์และประเมินความคืบหน้าในการมุ่งสู่เป้าหมายอีกด้วย ...
อ่านเพิ่มเติม
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 7) : ดนตรีกับการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า EF
19/05/2022
ดนตรีกับการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า EF การศึกษาวิจัยว่าดนตรีมีส่วนในการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function) เพิ่มขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา มีการศึกษาที่ยืนยันว่าการฝึกฝนเล่นดนตรีประเภทต่างๆ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสมอง นักดนตรีมืออาชีพและผู้เชี่ยวชาญทางดนตรีที่ได้รับการฝึกฝนมาตั้งแต่ยังเล็ก และเล่นดนตรีมานานเกินกว่าสิบปีนั้นถูกค้นพบจากการทำงานสำรวจวิจัยของ Katherine-moore และทีมว่า เป็นผู้ที่มีความสามารถในการคิดเชิงนามธรรมและแก้ปัญหาได้ดี อีกทั้งงานวิจัยพบว่านักดนตรีมืออาชีพมีผลคะแนนที่ดีอย่างเห็นได้ชัด เมื่อทำการทดสอบทักษะสมองส่วนหน้าด้านความจำเพื่อใช้งาน การจดจ่อใส่ใจ และกระบวนการคิดที่รวดเร็ว ซึ่งทักษะเหล่านี้แม้แต่นักดนตรีสมัครเล่นก็ทำการทดสอบทักษะดังที่กล่าวมาแล้วได้ดีกว่าคนที่ไม่เล่นดนตรี คำว่า “อันดนตรี มีคุณทุกอย่างไป” จึงเป็นคำที่ไม่กล่าวเกินเลย เพราะแม้แต่การฝึกฝนไม่เท่าไหร่ ก็ยังสามารถทำให้ทักษะ EF...
อ่านเพิ่มเติม
บทความแปลวิชาการต่างประเทศ
เอกสารแปลและเรียบเรียง ลำดับที่ 8 (ตอนที่ 6) : พัฒนา EF ด้วยการเล่นอย่างเป็นระบบ
19/05/2022
พัฒนา EF ด้วยการเล่นอย่างเป็นระบบ สมองส่วนหน้าบริเวณหลังหน้าผาก เป็นสมองส่วนของการคิดขั้นสูงที่มีทักษะเชิงบริหารจัดการ (Executive Function: EF) ที่ทำงานกำกับการวางแผนและกำกับการกระทำของเราเกี่ยวข้องกับความคิด อารมณ์ที่เกิดขึ้น โดยมีทักษะพื้นฐานของสมองส่วนนี้อยู่ 3 ทักษะคือ 1. ทักษะจำเพื่อใช้งาน (Working Memory) 2. ทักษะยั้งคิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) และ 3. ทักษะยืดหยุ่นความคิด (Cognitive...
อ่านเพิ่มเติม
โหลดเพิ่มเติม