หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
สาระน่ารู้ EF
เกี่ยวกับ EF
EF สำหรับพ่อ-แม่
EF สำหรับคุณครู
งานวิจัย EF
วิดีโอ สาระความรู้ EF
ร้านหนังสือEF
ซื้อสินค้า
แจ้งชำระเงิน
ถาม-ตอบ EF
ดาวน์โหลด
เอกสาร และสื่อ
EF E-Book
Sign in
Welcome!
Log into your account
ชื่อผู้ใช้ของคุณ
รหัสผ่านของคุณ
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
Create an account
Sign up
Welcome!
ลงทะเบียนสำหรับบัญชี
อีเมล์ของคุณ
ชื่อผู้ใช้ของคุณ
รหัสผ่านจะถูกอีเมล์ถึงคุณ
Password recovery
กู้คืนรหัสผ่านของคุณ
อีเมล์ของคุณ
ค้นหา
Sign in
ยินดีต้อนรับ! เข้าสู่ระบบบัญชีของคุณ
ชื่อผู้ใช้ของคุณ
รหัสผ่านของคุณ
Forgot your password? Get help
Create an account
Create an account
Welcome! Register for an account
อีเมล์ของคุณ
ชื่อผู้ใช้ของคุณ
รหัสผ่านจะถูกอีเมล์ถึงคุณ
Password recovery
กู้คืนรหัสผ่านของคุณ
อีเมล์ของคุณ
รหัสผ่านจะถูกอีเมล์ถึงคุณ
สอบถามการใช้งานระบบ?
(02)913 - 7555 กด 4104
ฝ่ายบริการสมาชิกเว็บไซต์
Sign in / Join
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
สาระน่ารู้ EF
เกี่ยวกับ EF
EF สำหรับพ่อ-แม่
EF สำหรับคุณครู
งานวิจัย EF
วิดีโอ สาระความรู้ EF
ร้านหนังสือEF
ซื้อสินค้า
แจ้งชำระเงิน
ถาม-ตอบ EF
ดาวน์โหลด
เอกสาร และสื่อ
EF E-Book
Search
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
สาระน่ารู้ EF
เกี่ยวกับ EF
EF สำหรับพ่อ-แม่
EF สำหรับคุณครู
งานวิจัย EF
วิดีโอ สาระความรู้ EF
ร้านหนังสือEF
ซื้อสินค้า
แจ้งชำระเงิน
ถาม-ตอบ EF
ดาวน์โหลด
เอกสาร และสื่อ
EF E-Book
Search
หน้าแรก
แท็ก
สมองส่วนหน้า
Tag:
สมองส่วนหน้า
Stay Connected
21,744
แฟนคลับ
ชอบ
2,506
ผู้ติดตาม
ติดตาม
17,500
สมาชิก
บอกรับเป็นสมาชิก
- Advertisement -
Latest Articles
บทความพิเศษ
Self ที่ดี ตัวตั้งต้นสมองและสุภาพจิตที่ดี
21/04/2021
จากประสบการณ์เป็นจิตแพทย์มายาวนาน นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ พบว่าอุบัติการณ์หนึ่งที่พบมากขึ้นในเด็กวัยรุ่นคือการกรีดข้อมือ พร้อมอธิบายว่า การกรีดทำให้เจ็บ ได้เห็นเลือด เป็นการพิสูจน์ว่าตัวเองมีตัวตนและกล่าวว่าพฤติกรรมที่เป็นปัญหา เช่น ฝ่าไฟแดง ติดเอดส์ หรือกรีดข้อมือ เป็นเรื่องธรรมดาสำหรับเด็กวัยรุ่นที่ไม่มีตัวตน“ไม่มีตัวตนก็ไม่มีตัวเองให้รัก” สาเหตุมาจากพื้นฐานชีวิตในวัย 3 ขวบปีแรกที่เลวร้าย เด็กบางคนถึงขั้นกรีดตัวเองทุก3 เดือน ซึ่งรักษาได้ยากมากเพราะฉะนั้น 3 ปีแรกของชีวิตจึงสำคัญมากในช่วงเวลานี้เด็กมีงานสำคัญคือสร้างตัวเอง หรือตัวตน (self) โดยมีตัวเองเป็นศูนย์กลาง (self-centered)...
อ่านเพิ่มเติม
บทความพิเศษ
แม่ที่มีอยู่จริง
21/04/2021
นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ จิตแพทย์และนักเขียนชี้ว่า “แม่ที่มีอยู่จริง” เป็นต้นทางของพัฒนาการที่ก้าวหน้าของลูกและสร้างอาวุธลับที่พ่อแม่ใช้พิชิตลูกวัยรุ่น ใน12 เดือนแรกของชีวิต ทารกมีหน้าที่ “ไว้ใจโลก” และ “ไว้ใจพ่อแม่” ก่อนจะเติบโตแยกออกไปจากอกพ่อแม่ ถ้าเด็กไม่ไว้ใจโลกหรือรู้สึกว่าโลกไม่น่าไว้ใจ พัฒนาการจะหยุดหัฒนา ไม่ก้าวต่อไป เช่น ถ้าทารกคลาน นั่ง ยืน แล้วล้ม ร้องไห้ แล้วไม่มีคนสนใจมาปลอบมาอุ้ม ทารกจะเกิดความรู้สึกไม่ไว้ใจ เมื่อไม่ไว้ใจก็จะไม่กล้าพัฒนาก้าวต่อไป ไม่ยืน...
อ่านเพิ่มเติม
บทความพิเศษ
สร้าง Self ที่ดีให้เด็กประถม
21/04/2021
ปกนิตยสารไทม์เมื่อ 3 ปีก่อน มีภาพเด็กผู้หญิงนอนแล้วถ่ายภาพเซลฟี่ตัวเอง พร้อมแคปชั่น “me and my generation” หมายความว่าเด็กในรุ่นนี้ให้ความสำคัญกับภาพลักษณ์และการปรากฏตัวต่อคนรอบข้าง นับว่าเป็นเรื่องดีที่เด็กยุคนี้มีแนวโน้มมุ่งความสนใจที่ตัวตน เป็นต้นทุนที่ดีมากในการที่จะฟูมฟักเรื่อง self ให้เข้มแข็ง ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยที่ว่า “เป้าหมายของประถมศึกษาที่ควรจะเป็นในยุคหลัง 2015 คือต้องให้เด็กได้พึ่งพาตัวเอง ทำอะไรได้ด้วยตัวเอง” ซึ่งมีฐานมาจาก self ที่เข้มแข็งนั่นเอง Self คืออะไร เด็กทุกคนเติบโตขึ้นมาโดยควรต้องรู้จักตัวตนของตัวเอง รู้ว่าตัวเองคือใครและจะไปยืนอยู่ตรงไหนในโลก...
อ่านเพิ่มเติม
บทความพิเศษ
จะทำให้เด็กวัยเรียน “เรียนรู้อย่างมีความหมาย” ได้อย่างไร
21/04/2021
เรารู้กันดีว่า เด็กๆ จะเรียนรู้ได้ดีหากมีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย(meaningful learning)แต่ยังอาจไม่ชัดเจนว่าการเรียนรู้อย่างมีความหมายนั้นเป็นอย่างไร มีประโยชน์ต่อเด็กอย่างไร และควรใช้วิธีการใด ถาม : การเรียนรู้อย่างมีความหมายคืออย่างไร ตอบ :การเรียนรู้อย่างมีความหมาย คือการเรียนรู้ที่รู้ว่าจะเรียนรู้ไปเพื่ออะไร เชื่อมโยงกับตัวผู้เรียน ผู้เรียนรู้ว่าสิ่งที่เรียนรู้จะมีผล จะกระทบต่อตัวเขาอย่างไรเรียนรู้แล้วสามารถที่จะเชื่อมโยงกับชีวิตจริงกับตัวเองได้ นำมาจัดการตัวเองได้ จัดการกับสภาพแวดล้อมได้ รู้ว่าเมื่อเรียนรู้มาแล้วจะเอาความรู้นั้นไปทำอะไรต่อ การเรียนรู้ที่มีความหมายจึงมีความหมายใน 2 มิติ คือความหมายต่อตัวเขาเอง และต่อสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเขา ในบ้าน นอกบ้าน...
อ่านเพิ่มเติม
บทความพิเศษ
การเตรียมเด็กประถมให้เป็น Active Citizen หรือพลเมืองที่เข้มแข็ง
20/04/2021
คำว่า “การเป็นพลเมืองดี พลเมืองที่เข้มแข็ง” อาจฟังดูห่างไกลจากเด็ก เป็นนามธรรมที่เด็กเล็กไม่น่าจะเรียนรู้เข้าใจได้ แต่โดยธรรมชาติพัฒนาการแล้ว เด็กในวัยประถม หน้าต่างแห่งโอกาสของการปลูกฝัง ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม สำหรับ กำลังเปิด เพราะถึงวัยที่เด็กเริ่มรับรู้เหตุผล ไม่เอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง ดังนั้น ผู้ใหญ่ต้องฉวยโอกาสนี้ปลูกฝังคุณลักษณะที่ดีให้เด็ก ให้เด็กได้เรียนรู้ social norm โดยปรับวิธีการปลูกฝังไปกับบริบทรอบตัวเด็กให้สอดคล้องกับวัย และทำให้เป็นรูปธรรม เช่น การเป็นพลเมืองดีคือการไม่ทำให้เพื่อนเสียใจ...
อ่านเพิ่มเติม
โหลดเพิ่มเติม