สอบถามการใช้งานระบบ?

(02)913 - 7555 กด 4104

ฝ่ายบริการสมาชิกเว็บไซต์

หน้าแรก แท็ก Working Memory

Tag: Working Memory

กิจกรรมพัฒนา Working Memory

สำหรับเด็กวัย 3-5 ปี วิธีดูว่าเด็กมีการจำที่ดี ดูได้จาก... ช่วงวัย 3 ขวบ ท่องคำคล้องจองหรือคำกลอนสั้นๆ ได้ ร้องเพลงง่ายๆ จนจบได้ จำคำสั่งง่ายๆ ได้ สำหรับเด็กวัย 3-5 ปี วิธีดูว่าเด็กมีการจำที่ดี ดูได้จาก... ช่วงวัย 3 ขวบ ท่องคำคล้องจองหรือคำกลอนสั้นๆ ได้ ร้องเพลงง่ายๆ จนจบได้ จำคำสั่งง่ายๆ...

ใช้ดนตรีพัฒนาความคิดยืดหยุ่นสร้างสรรค์

มนุษย์ทุกคนมีธรรมชาติที่รักเสียงดนตรี การเคลื่อนไหวตามจังหวะดนตรีก็เป็นสิ่งที่มีอยู่ในทุกเชื้อชาติวัฒนธรรมตลอดมา ช่วงวัย 3 ขวบ เด็กจะร้องเพลงได้บางเพลงง่ายๆ ร้องกับคนอื่นได้ เล่นเครื่องเคาะจังหวะง่ายๆ ได้ ทำเสียงดนตรีตามจินตนาการได้ เต้นหรือทำท่าทางตามจังหวะได้ ช่วงวัย 4 ขวบ บอกความแตกต่างของจังหวะเพลงอย่างง่ายๆ ได้ เช่น ช้า หรือเร็ว ร้องเพลงกับกลุ่มได้สอดคล้องพร้อมเพรียงกันมากขึ้น ช่วงวัย 5 ขวบ สร้างทำนองหรือเนื้อเพลงเองได้ หรือใช้ทำนองเพลงเก่าใส่เนื้อใหม่ได้ เสียงเพลง ดนตรี การเคลื่อนไหวเข้าจังหวะ...

ปฐมวัย วัยทองของการพัฒนาทักษะ EF

ในช่วงปฐมวัย (แรกเกิด-6 ปี) เป็นวัยทองของการพัฒนาทักษะ EF ที่พ่อแม่และครูอนุบาลจะต้องช่วยเด็กในวัยนี้ให้พัฒนาทักษะ EF เพื่อให้เด็กมีความพร้อมกับการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้นต่อไป มีงานวิจัยจากการประเมินผลของโครงการ Chicago School Readiness ชี้ว่าทักษะ EF ของเด็กที่พัฒนาในช่วงวัยอนุบาล สามารถทำนายถึงความสำเร็จในวิชาคณิตศาสตร์และการอ่านในเวลาอีก 3 ปีต่อมา ยิ่งไปกว่านั้นทักษะ EF ยังแสดงถึงความพร้อมในการเข้าเรียนได้ดีกว่าการวัด IQ ของเด็ก ทักษะ EF ในเด็กไม่ว่าการมีสมาธิจดจ่อในงานที่ผู้ใหญ่มอบหมายให้การวางแผน...

ข้อแนะนำที่พ่อแม่และครูควรใส่ใจ

ในการพัฒนาทักษะ EF มีข้อแนะนำที่พ่อแม่และครูควรใส่ใจ ในการพัฒนาทักษะ EF มีข้อแนะนำที่พ่อแม่และครูควรใส่ใจ ดังต่อไปนี้ - ในการพัฒนาทักษะ EF อาศัยความเข้าใจ ความรักความเมตตา ความสม่ำเสมอของพ่อแม่ และครูเป็นพื้นฐาน - คุณครูต้องเอาใจใส่พัฒนาทักษะ EF ไปพร้อมๆ กับการเรียนการสอน - ความเครียดเป็นตัวการสำคัญที่ขัดขวางการพัฒนาทักษะ EF คุณครูควรสอนเด็กให้รู้จักจัดการความ- เครียด และทำตัวเป็นตัวอย่าง สอนให้เด็กเข้าใจอารมณ์ความรู้สึกของตัวเองและผู้อื่น รู้จักควบคุมอารมณ์ รู้จักรอคอย...

ข้อควรรู้ที่สำคัญในการพัฒนาทักษะ EF

การศึกษาวิจัยกระบวนการพัฒนาทักษะ EF ในเด็กด้วยวิธีการต่างๆ  6 แบบ ได้แก่ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ร่วมกับเกมต่างๆ การออกกำลังกายแบบแอโรบิก ศิลปะการต่อสู้ การฝึกสมาธิ และวิธีการมอนเตสซอรี  พบประเด็นสำคัญในการพัฒนาทักษะ EF หลายประการ จากการศึกษาวิจัยกระบวนการพัฒนาทักษะ EF ในเด็กของ Dr. Adele Diamonds และ Kathleen Lee ด้วยวิธีการต่างๆ...

เทคนิคง่ายๆ ช่วยบริหารจัดการชีวิตให้ง่ายขึ้น

เทคนิคง่ายๆ ช่วยพัฒนาทักษะ EF สำหรับเด็กโตและผู้ใหญ่อย่างเช่น คุณพ่อคุณแม่และคุณครูก็นำไปใช้ได้ ซึ่งจะช่วยสร้างความจำ ช่วยจัดระบบความคิด กำกับควบคุมตนเอง บริหารเวลา และอื่นๆ มีเทคนิคง่ายๆ ช่วยพัฒนาทักษะ EF สำหรับเด็กโตและผู้ใหญ่อย่าง เช่น คุณพ่อคุณแม่และคุณครูก็นำไปใช้ได้ ซึ่งจะช่วยสร้างความจำ ช่วยจัดระบบความคิด กำกับควบคุมตนเอง บริหารเวลา และอื่นๆ เทคนิคช่วยจำ - ใช้คำย่อช่วยจำ ยิ่งทำให้เกิดคำย่อที่ดูเพี้ยนมากเท่าไรยิ่งดี เพราะจะจำง่าย เช่น...

สมาธิสั้น แอลดี คือเด็กที่มี EF บกพร่อง

เด็กสมาธิสั้นและเด็กแอลดี เป็นเพราะมีความบกพร่องของสมองส่วน Executive Function นั่นเอง Thomas E. Brown นักจิตวิทยาชื่อดังจากมหาวิทยาลัยเยล พบว่า คนที่สมาธิสั้น (Attention Deficit Hyperactivity Disorder-ADHD) มีปัญหาเรื้อรังเกี่ยวกับความบกพร่องในการทำงานของทักษะสมองในการบริหารจัดการชีวิต (Executive Functions) ทำให้คนที่มีอาการนี้ ไม่สามารถจัดการกับสมองตนเองให้จดจ่อตั้งใจกับสิ่งที่ต้องทำได้ ข้อมูลจาก Lynn Meltzer และ Kalyani Krishnan...

สัญญาณ เด็กความจำบกพร่อง

สังเกตดูว่าเด็กมีอาการของ Working Memory บกพร่องหรือไม่ การสังเกตพบแต่เนิ่นๆ ว่าเด็กมีปัญหาด้าน Working Memory จะทำให้แก้ไขได้ทัน รศ.ดร.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล ได้อธิบายไว้ในนิตยสารรักลูกว่า ความจำของคนเราเริ่มพัฒนาตั้งแต่ปลายขวบปีแรกโดยทั่วไปเด็กอายุ 4 ปีจะมีความสามารถด้าน Working Memory ประมาณครึ่งหนึ่ง หรือ หนึ่งในสามของผู้ใหญ่ ดังนั้น วัยเด็กจึงเป็นหน้าต่างแห่งโอกาสในการฝึกฝนให้ Working...

Stay Connected

22,878แฟนคลับชอบ
2,506ผู้ติดตามติดตาม
- Advertisement -

Latest Articles

นางกษมน มังคละคีรี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกลางนาเดื่อ จ.สกลนคร

โรงเรียนบ้านกลางนาเดื่อเป็นโรงเรียนในโครงการโรงเรียนพัฒนาตนเอง (TSQP) ผอ.กษมน ได้รับการแนะนำให้รู้จักเรื่องEF จากอาจารย์วิเชียร ไชยบัง โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา แล้วศึกษาเพิ่มเติมทางอินเทอร์เน็ตและเข้าอบรมกับสถาบันRLG เมื่อเดือนเมษายน 2564 โดยให้ครูปฐมวัยในโรงเรียนเข้ารับการอบรมด้วย ซึ่งเป็นครูที่จบเอกปฐมวัยมาโดยตรง และมีความมุ่งมั่นที่จะนำความรู้สู่การปฏิบัติในชั้นเรียน เมื่อตระหนักถึงความสำคัญของ EF ตรงกัน ผอ.กษมนจึงให้ความสนับสนุนอย่างเต็มที่ ให้ครูปฐมวัยได้จัดการเรียนการสอนส่งเสริม EF โดยไม่ได้รอความเห็นชอบจากศน.เขตพื้นที่ฯ เพราะเห็นว่า EF เป็นความรู้ที่สอดคล้องกับหลักการศึกษาปฐมวัยอยู่แล้ว สามารถบูรณาการไปกับการส่งเสริมพัฒนาการ...

นางเปรมศิริ เนื้อเย็น ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองบ้วย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบ้วย  จ.เพชรบุรี

ผอ.เปรมศิริได้รับการแนะนำให้รู้จักเรื่อง EFจากศึกษานิเทศน์เขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรีเขต 2 และ ศน.เชิญชวนให้เข้ารับการอบรมความรู้ EF กับสถาบัน RLG แล้วนำความรู้ EF มาขยายสู่ครูปฐมวัยในโรงเรียนให้ครูได้ส่งเสริมEF เด็กผ่านโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เนื่องจากมีความสอดคล้องกัน โดยบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยส่งเสริมให้เด็กได้คิดวิเคราะห์ เรียนรู้จากการลงมือทำ นอกจากนั้นยังวางแผนจะเชื่อมโยงความรู้ EF ไปสู่ครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบ้วย เพื่อเป็นการปูพื้นฐาน EF ให้เด็กจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่จะมาเรียนต่ออนุบาล 3 ที่โรงเรียนบ้านหนองบ้วย ทำให้เด็กได้รับการพัฒนา...

นายทวิต ราษี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป้อมประชานุกูล จ.สุโขทัย

ผอ.ทวิต ราษี มีประสบการณ์บริหารโรงเรียนขนาดเล็กที่มีระดับชั้นปฐมวัยมานานโดยมีความตั้งใจในการพัฒนาอนุบาลให้มีคุณภาพเพราะเป็นการสร้างรากฐานให้เด็กไปจนโต และมีความสนใจในเรื่องพัฒนาการเด็ก เมื่อเข้าร่วมอบรมเรื่อง EF จากสถาบัน RLG ก็ได้เข้าใจว่าพัฒนาการของเด็กนั้นเกิดจากการทำงานของสมอง และยังเห็นว่าเรื่อง EF มีความสอดคล้องกับโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อยที่โรงเรียนบ้านป้อมประชานุกูลดำเนินการอยู่ จึงสนใจที่จะขับเคลื่อนความรู้ EF ในโรงเรียน(ที่เพิ่งเข้ามาบริหาร) ผอ.ทวิตนำความรู้ EF มาถ่ายทอดแก่ครู ให้ครูนำความรู้ EF บูรณาการกับโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อยซึ่งเป็นการเรียนรู้แบบโครงงาน เพียงครูเปลี่ยนวิธีการ ไม่ใช่ครูสั่งให้เด็กทำ แต่ให้เด็กได้คิดได้ทำด้วยตัวเอง...

นายสวัสดิ์ เมฆสุนทร  ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองโพธิ์ จ.นครราชสีมา 

ผอ.สวัสดิ์ได้รับการแนะนำจากอาจารย์วิเชียร ไชยบัง โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา ให้รู้จัก EF รวมทั้งได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง EF ในการประชุมเครือข่ายโรงเรียนพัฒนาตนเอง(TSQP)อยู่เสมอ และเข้ารับการอบรมกับสถาบัน RLG เพิ่มเติม  แล้วเห็นว่า EF เป็นความรู้พื้นฐานหรือความรู้ปฐมบทที่พ่อแม่ผู้ปกครองไม่ว่าสถานะใดควรต้องรู้ ไม่ใช่เฉพาะผู้ปกครองชนชั้นกลางขึ้นไปที่มีความรู้ หรือเป็นความรู้ในหมู่ครูอาจารย์หรือแพทย์เท่านั้น  ครอบครัวที่ด้อยโอกาสก็ควรต้องรู้ สรุปคือสังคมไทยควรต้องเรียนรู้เรื่อง EF เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันจึงสนับสนุนให้ครูปฐมวัยในโรงเรียนได้รับการอบรม EF จากสถาบัน RLG และดำเนินการปรับสนามเด็กเล่นเพื่อให้เด็กได้เล่นอิสระอย่างปลอดภัยและมีความสุข...

นายจรูญ น้อยสำราญ  ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองบอน จ.ตราด

โรงเรียนบ้านหนองบอนเป็นโรงเรียนหนึ่งในเครือข่ายโรงเรียนพัฒนาตนเอง (TSQD) กสศ.ซึ่งทำให้ผอ.จรูญได้เริ่มรู้จัก EF แล้วทำให้อยากรู้ว่า EF คืออะไร เมื่อพบว่าสถาบัน RLG มีการอบรมเรื่องนี้จึงสมัครเข้ารับอบรมพร้อมครูอนุบาล 2 คน  แล้วได้เห็นว่า EF เป็นคำตอบเรื่องการพัฒนาเด็กให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ และการพัฒนาเด็กให้เต็มศักยภาพ จึงนำความรู้ EF มาถ่ายทอดให้ครูในโรงเรียน โดยใช้สื่อจากสถาบันRLG ให้ครูเรียนรู้ และมอบหมายให้รองผอ.ติดตามการดำเนินการขับเคลื่อนความรู้ EF สู่การปฏิบัติในชั้นเรียนอนุบาล...