สอบถามการใช้งานระบบ?

(02)913 - 7555 กด 4104

ฝ่ายบริการสมาชิกเว็บไซต์

หน้าแรก แท็ก Working Memory

Tag: Working Memory

เทคนิคพัฒนา Working Memory ของเด็กให้ใส่ใจจดจำ

หากเราต้องการให้เด็กวัยอนุบาลเรียนรู้ทำกิจกรรมต่างๆ หรือกิจวัตรประจำวันด้วยตัวเอง  การใช้คำสั่งห้วนๆ มักไม่ค่อยได้ผล เพราะเด็กอาจไม่เข้าใจหรือไม่สนใจจะจดจำ ยิ่งกว่านั้นอาจจะทำให้เด็กต่อต้านด้วย  มีเทคนิคหลายวิธีในการฝึก Working Memory ของเด็ก เพื่อให้เด็กเรียนรู้จดจำกิจกรรมหรือขั้นตอนในการทำกิจวัตรประจำวันได้ดี มีเทคนิคหลายวิธีในการฝึก Working Memory ของเด็ก เพื่อให้เด็กเรียนรู้จดจำกิจกรรมหรือขั้นตอนในการทำกิจวัตรประจำวันได้ดี ดังต่อไปนี้ ใช้เสียงเพลงในการสื่อสารให้เด็กทำกิจกรรมกิจวัตรประจำวัน เข้าแถว เข้ากลุ่ม เก็บของ เป็นวิธีที่ง่ายต่อการที่เด็กเล็กจะจดจำ นอกจากเพลงก็มีคำคล้องจองที่ช่วยให้เด็กจำได้ พอถึงวันหนึ่งคุณครูไม่จำเป็นต้องร้องเพลงแล้ว...

ลูกจะเป็นอย่างไรถ้าขาดทักษะ EF

เด็กที่ขาดทักษะ EF มักมีปัญหาพฤติกรรมและขาดทักษะในการบริหารจัดการชีวิต นักจิตวิทยาพัฒนาการ Prof. Dr.Philip David Zelazo ชี้ไว้ว่า “เด็กที่ขาดทักษะ EF มักมีปัญหาพฤติกรรมด้วย เช่น แม้ว่าเด็กจะมีจุดมุ่งหมาย แต่ถ้าไม่สามารถวางแผน ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรม ไม่สามารถประเมินตัวเองได้ก็อาจจะนำไปสู่การกระทำที่ไม่เหมาะสมได้ และไม่รู้ว่าจะจัดการกับผลที่ตามมาอย่างไร” จากคำอธิบายนี้ ทำให้เรามองเห็นว่า ในการทำให้จุดมุ่งหมายใดๆ สำเร็จได้นั้น ใช่ว่าเพียงมีเป้าหมายตั้งไว้แล้ว...

กิจกรรมพัฒนา Working Memory

กิจกรรมพัฒนาความจำหรือ Working Memory ง่ายๆ สำหรับลูกวัย 3-5 ปี ที่คุณพ่อคุณแม่นำไปใช้กับลูกที่บ้านได้ สำหรับลูกวัย 3-5 ปี วิธีดูว่า เด็กมีการจำที่ดี ดูได้จาก... ช่วงวัย 3 ขวบ ท่องคำคล้องจองหรือคำกลอนสั้นๆ ได้ ร้องเพลงง่ายๆ จนจบได้ จำคำสั่งง่ายๆ ได้ ช่วงวัย 4 ขวบ...

ข้อควรรู้ที่สำคัญในการพัฒนาทักษะ EF

การศึกษาวิจัยกระบวนการพัฒนาทักษะ EF ในเด็กด้วยวิธีการต่างๆ 6 แบบ ได้แก่ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ร่วมกับเกมต่างๆ การออกกำลังกายแบบแอโรบิก ศิลปะการต่อสู้ การฝึกสมาธิ และวิธีการมอนเตสซอรี พบประเด็นสำคัญในการพัฒนาทักษะ EF หลายประการ จากการศึกษาวิจัยกระบวนการพัฒนาทักษะ EF ในเด็กของ Dr.Adele Diamonds และ Kathleen Lee ด้วยวิธีการต่างๆ 6...

ขั้นตอนพัฒนาการ EF ในเด็กเล็กแต่ละวัย

ขั้นตอนพัฒนาการ EF ของเด็กแต่ละช่วงวัยตั้งแต่แรกเกิดจนโตเป็นผู้ใหญ่ คุณพ่อคุณแม่สามารถมองเห็นทักษะความสามารถ EF ในตัวลูกที่ค่อยๆ ก่อร่างสร้างขึ้นทีละน้อยตามวัยของเด็กตามที่นักวิชาการศึกษา Joyce Cooper-Kahn และ Laurie Dietzel แนะนำไว้ดังนี้ 0-2 ปี ทารกและเด็กเล็กก่อนเข้าโรงเรียน เป็นช่วงเวลาที่เรียกว่า “อยู่กับปัจจุบันขณะ” (“live in the moment”) ต้องการการตอบสนองในทันที เด็ก 1...

ปฐมวัย วัยทองของการพัฒนาทักษะ EF

ในช่วงปฐมวัย(แรกเกิด-6 ปี)เป็นวัยทองของการพัฒนาทักษะ EF ที่พ่อแม่และครูอนุบาลจะต้องช่วยเด็กในวัยนี้ให้พัฒนาทักษะ EF เพื่อให้เด็กมีความพร้อมกับการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้นต่อไป “มีงานวิจัยจากการประเมินผลของโครงการ Chicago School Readiness ชี้ว่า ทักษะ EF ของเด็กที่พัฒนาในช่วงวัยอนุบาล สามารถทำนายถึงความสำเร็จในวิชาคณิตศาสตร์และการอ่านในเวลาอีก 3 ปีต่อมา ยิ่งไปกว่านั้น ทักษะ EF ยังแสดงถึงความพร้อมในการเข้าเรียนได้ดีกว่าการวัด IQ ของเด็ก ทักษะ EFในเด็ก ไม่ว่าการมีสมาธิจดจ่อในงานที่ผู้ใหญ่มอบหมายให้...

ความจำเพื่อใช้งาน” คืออะไร?

ทำไมต้อง EF (Executive Function) Working Memory (ความจำเพื่อใช้งาน) คือ อะไรสำคัญแค่ไหนกับชีวิตของเรา ความจำเพื่อใช้งาน (Working Memory) คือ กระบวนการทำงานของสมองส่วนหน้า ทำหน้าที่จำข้อมูล จัดระบบแล้วเก็บรักษาข้อมูลไว้ในคลังสมอง เมื่อถึงเวลาที่เราต้องการใช้งาน สามารถนำข้อมูลในสมองออกมาใช้งานได้อัตโนมัติ เป็นความจำที่เรียกข้อมูลกลับมาเพื่อใช้อย่างถูกที่ถูกเวลา วันทั้งวันเราต้องใช้ Working Memory อยู่ตลอดเวลา มันช่วยให้เราจำได้เมื่อลืมตาตื่นว่า เช้านี้จะต้องทำอะไรบ้าง เมนูอาหารเช้าที่เคยทำ ทำอย่างไร...

พัฒนาทักษะสมอง EF ด้วยการอ่าน

หลายปีที่ผ่านมาสังคมไทยเราพูดกันมาก ถึงการเตรียมความพร้อมเด็กไทยสู่โลกศตวรรษที่ 21 ด้วยสถานการณ์ทุกแง่มุมในปัจจุบันต่างชี้ไปในทิศทางที่บอกเราว่าโลกข้างหน้านั้น “อยู่ยาก” ท้าทาย อัดแน่นไปด้วยข้อมูลมหาศาล หากเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และความรู้หาได้ง่ายเพียงแค่ปลายนิ้วสัมผัส คนรู้มากที่สุดจะไม่ใช่คนที่เก่งที่สุดอีกต่อไปความพยายามในการแก้ปัญหาการเรียนรู้ของเด็กไทยก็พูด และแก้กันอย่างหนักมาโดยตลอด แต่สภาวะความเป็นจริงของเด็กไทยวันนี้ก็ยังสาหัส นี่ยังไม่นับประเด็นที่ประเทศไทยเรานั้นกำลังจะก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุสมบูรณ์แบบในปี 2573 เด็กไทยของเราที่จะเติบโตเป็นพลเมืองรุ่นใหม่จะต้องแบกรับภาระหนักกว่าคนรุ่นพ่อแม่เป็นเท่าตัว ประเทศไทยวันนี้จึงจำเป็นต้องเร่งพัฒนาเด็กๆของเรา เพื่อสร้าง “คนคุณภาพ” ที่ไม่ใช่แค่ผู้มีความรู้มากเพียงอย่างเดียว แต่ต้องเป็นผู้มีทักษะความคิด ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเอง ไม่ตกเป็นเหยื่อของกระแสสังคมที่คงจะเชี่ยวกรากกว่าทุกวันนี้ไปให้ได้ดาวน์โหลดเอกสาร คลิก

Stay Connected

22,878แฟนคลับชอบ
2,506ผู้ติดตามติดตาม
- Advertisement -

Latest Articles

นางกษมน มังคละคีรี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกลางนาเดื่อ จ.สกลนคร

โรงเรียนบ้านกลางนาเดื่อเป็นโรงเรียนในโครงการโรงเรียนพัฒนาตนเอง (TSQP) ผอ.กษมน ได้รับการแนะนำให้รู้จักเรื่องEF จากอาจารย์วิเชียร ไชยบัง โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา แล้วศึกษาเพิ่มเติมทางอินเทอร์เน็ตและเข้าอบรมกับสถาบันRLG เมื่อเดือนเมษายน 2564 โดยให้ครูปฐมวัยในโรงเรียนเข้ารับการอบรมด้วย ซึ่งเป็นครูที่จบเอกปฐมวัยมาโดยตรง และมีความมุ่งมั่นที่จะนำความรู้สู่การปฏิบัติในชั้นเรียน เมื่อตระหนักถึงความสำคัญของ EF ตรงกัน ผอ.กษมนจึงให้ความสนับสนุนอย่างเต็มที่ ให้ครูปฐมวัยได้จัดการเรียนการสอนส่งเสริม EF โดยไม่ได้รอความเห็นชอบจากศน.เขตพื้นที่ฯ เพราะเห็นว่า EF เป็นความรู้ที่สอดคล้องกับหลักการศึกษาปฐมวัยอยู่แล้ว สามารถบูรณาการไปกับการส่งเสริมพัฒนาการ...

นางเปรมศิริ เนื้อเย็น ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองบ้วย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบ้วย  จ.เพชรบุรี

ผอ.เปรมศิริได้รับการแนะนำให้รู้จักเรื่อง EFจากศึกษานิเทศน์เขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรีเขต 2 และ ศน.เชิญชวนให้เข้ารับการอบรมความรู้ EF กับสถาบัน RLG แล้วนำความรู้ EF มาขยายสู่ครูปฐมวัยในโรงเรียนให้ครูได้ส่งเสริมEF เด็กผ่านโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เนื่องจากมีความสอดคล้องกัน โดยบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยส่งเสริมให้เด็กได้คิดวิเคราะห์ เรียนรู้จากการลงมือทำ นอกจากนั้นยังวางแผนจะเชื่อมโยงความรู้ EF ไปสู่ครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบ้วย เพื่อเป็นการปูพื้นฐาน EF ให้เด็กจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่จะมาเรียนต่ออนุบาล 3 ที่โรงเรียนบ้านหนองบ้วย ทำให้เด็กได้รับการพัฒนา...

นายทวิต ราษี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป้อมประชานุกูล จ.สุโขทัย

ผอ.ทวิต ราษี มีประสบการณ์บริหารโรงเรียนขนาดเล็กที่มีระดับชั้นปฐมวัยมานานโดยมีความตั้งใจในการพัฒนาอนุบาลให้มีคุณภาพเพราะเป็นการสร้างรากฐานให้เด็กไปจนโต และมีความสนใจในเรื่องพัฒนาการเด็ก เมื่อเข้าร่วมอบรมเรื่อง EF จากสถาบัน RLG ก็ได้เข้าใจว่าพัฒนาการของเด็กนั้นเกิดจากการทำงานของสมอง และยังเห็นว่าเรื่อง EF มีความสอดคล้องกับโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อยที่โรงเรียนบ้านป้อมประชานุกูลดำเนินการอยู่ จึงสนใจที่จะขับเคลื่อนความรู้ EF ในโรงเรียน(ที่เพิ่งเข้ามาบริหาร) ผอ.ทวิตนำความรู้ EF มาถ่ายทอดแก่ครู ให้ครูนำความรู้ EF บูรณาการกับโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อยซึ่งเป็นการเรียนรู้แบบโครงงาน เพียงครูเปลี่ยนวิธีการ ไม่ใช่ครูสั่งให้เด็กทำ แต่ให้เด็กได้คิดได้ทำด้วยตัวเอง...

นายสวัสดิ์ เมฆสุนทร  ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองโพธิ์ จ.นครราชสีมา 

ผอ.สวัสดิ์ได้รับการแนะนำจากอาจารย์วิเชียร ไชยบัง โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา ให้รู้จัก EF รวมทั้งได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง EF ในการประชุมเครือข่ายโรงเรียนพัฒนาตนเอง(TSQP)อยู่เสมอ และเข้ารับการอบรมกับสถาบัน RLG เพิ่มเติม  แล้วเห็นว่า EF เป็นความรู้พื้นฐานหรือความรู้ปฐมบทที่พ่อแม่ผู้ปกครองไม่ว่าสถานะใดควรต้องรู้ ไม่ใช่เฉพาะผู้ปกครองชนชั้นกลางขึ้นไปที่มีความรู้ หรือเป็นความรู้ในหมู่ครูอาจารย์หรือแพทย์เท่านั้น  ครอบครัวที่ด้อยโอกาสก็ควรต้องรู้ สรุปคือสังคมไทยควรต้องเรียนรู้เรื่อง EF เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันจึงสนับสนุนให้ครูปฐมวัยในโรงเรียนได้รับการอบรม EF จากสถาบัน RLG และดำเนินการปรับสนามเด็กเล่นเพื่อให้เด็กได้เล่นอิสระอย่างปลอดภัยและมีความสุข...

นายจรูญ น้อยสำราญ  ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองบอน จ.ตราด

โรงเรียนบ้านหนองบอนเป็นโรงเรียนหนึ่งในเครือข่ายโรงเรียนพัฒนาตนเอง (TSQD) กสศ.ซึ่งทำให้ผอ.จรูญได้เริ่มรู้จัก EF แล้วทำให้อยากรู้ว่า EF คืออะไร เมื่อพบว่าสถาบัน RLG มีการอบรมเรื่องนี้จึงสมัครเข้ารับอบรมพร้อมครูอนุบาล 2 คน  แล้วได้เห็นว่า EF เป็นคำตอบเรื่องการพัฒนาเด็กให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ และการพัฒนาเด็กให้เต็มศักยภาพ จึงนำความรู้ EF มาถ่ายทอดให้ครูในโรงเรียน โดยใช้สื่อจากสถาบันRLG ให้ครูเรียนรู้ และมอบหมายให้รองผอ.ติดตามการดำเนินการขับเคลื่อนความรู้ EF สู่การปฏิบัติในชั้นเรียนอนุบาล...