สอบถามการใช้งานระบบ?

(02)913 - 7555 กด 4104

ฝ่ายบริการสมาชิกเว็บไซต์

หน้าแรก แท็ก Self Monitoring

Tag: Self Monitoring

ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ #7

วงจรแห่งความปลอดภัย (Circle of Security) เนื่องจากเด็กแต่ละคนมีความต้องการความปลอดภัยในระดับที่แตกต่างกัน   Circle of Security  เป็น โปรแกรมหนึ่งที่ถือว่าเป็นนวัตกรรม ที่ออกแบบมาเพื่อช่วยให้พ่อแม่ผู้ปกครองเข้าใจวงจรความต้องการทางใจ ของเด็กที่ต้องการสร้างความสมดุลย์ ระหว่างความรู้สึกมั่นคงปลอดภัยกับความต้องการพัฒนาการพึ่งตนเอง ของเด็ก ทำให้พ่อแม่ผู้ปกครองสามารถทำหน้าที่เป็นฐานที่มั่นทางใจ ได้เหมาะสมกับสถานการณ์และสอดคล้อง กับธรรมชาติความต้องการของเด็กเล็ก โปรแกรมนี้ได้รับการพัฒนาขึ้นโดย  โรเบิร์ต มาร์วิน (Robert Marvin)  จากมหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย เกลน คูเปอร์ (Glen...

ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ #6

“พื้นที่ปลอบโยน” วิธีหนึ่งที่พ่อแม่สามารถส่งเสริมให้ลูกมี “ทักษะ” จนกลายเป็น “นิสัย”ในการปลอบโยนตัวเองได้ยามมีความทุกข์ คือการสอนให้ลูกรู้ว่า ลูกสามารถเอาชนะความทุกข์และอารมณ์ที่รุนแรงได้เสมอ โดยพ่อแม่ใช้ "เครื่องมือ" บางอย่างให้เป็นประโยชน์ เครื่องมือแรก คือ ในบ้านมี “พื้นที่ปลอบโยน” ที่กำหนดไว้ชัดเจน พื้นที่นี้เป็นพื้นที่ที่เป็นของเด็กๆ อย่าง แท้จริง ให้เด็กๆ สามารถเข้าไปอยู่บริเวณนั้นได้ตลอดเมื่อรู้สึกไม่สบายใจ  “พื้นที่ปลอบโยน” ต้องไม่ใช่พื้นที่เดียว กับการเข้ามุม(หากบางบ้านยังมีมุมนี้อยู่) เพราะจะทำให้เด็กสับสนระหว่างการปลอบโยนตนเอง กับการ...

ชุความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ #4

ทฤษฎีความผูกพัน หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นักจิตวิทยาพัฒนาการชาวอังกฤษ จอห์น โบว์ลบี (John Bowlby - 1907-1990) ได้ให้กำเนิดทฤษฎีความผูกพัน (Attachment Theory) ขึ้น จากการตั้งข้อสังเกตว่า เด็กที่ถูกเลี้ยงมา ในสถานเลี้ยงเด็กกำพร้าไม่มีความสุข แม้จะอยู่ในที่พักอาศัยอันอบอุ่น มีเสื้อผ้าพอเพียงและได้อาหารที่ดี  จอห์น โบว์ลบี ได้อนุมานว่า การที่เด็กในสถานเลี้ยงเด็กกำพร้า ไม่มีความสุข...

ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ #3

คุณภาพความผูกพันส่งผลจนตลอดชีวิต ประสบการณ์แรกในชีวิต เป็นประสบการณ์สำคัญที่เด็กจะรับรู้และเรียนรู้ว่า ชีวิตเป็นอย่างไร โลกนี้เป็น อย่างไร เด็กที่ไม่ได้รับการเอาใจใส่ หรือยิ่งไปกว่านั้นคือ พ่อแม่กลายเป็นภัยคุกคามต่อความปลอดภัย ด้วยการ แสดงอาการก้าวร้าว ไม่ว่าจะเป็นทางกาย ทางวาจา หรือ แม้กระทั่งแสดงออกทางสีหน้าและภาษากายที่ทำให้เด็ก รู้สึกกลัว และไม่ปลอดภัย เด็กก็จะพัฒนารูปแบบของความผูกพันที่ไม่ปลอดภัยกับพ่อแม่และผู้คนรอบข้าง ความรู้สึกไม่ปลอดภัยที่ติดอยู่ในใจเด็ก นำไปสู่พฤติกรรมที่มักก่อปัญหาตามมา เช่น การไม่สามารถระงับ ความต้องการหรืออารมณ์ของตนได้ แสดงออกอย่างรุนแรงหรือก้าวร้าวเพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการ หรือ เพื่อให้มั่นใจว่า...

ผลดีในระยะยาวของการพัฒนาทักษะสมอง EF

ในบทความก่อนหน้า หมอมักจะพูดเกี่ยวกับผลดีของการฝึกทักษะสมอง EF ต่อการพัฒนาศักยภาพของตัวเด็ก ซึ่งมักจะเน้นไปที่พัฒนาการด้านต่างๆ ที่เกิดขึ้นในช่วงวัยเด็กเป็นหลัก อย่างไรก็ดี ผลของการพัฒนาทักษะสมอง EF ไม่ได้มีเพียงแค่ผลในระยะสั้นที่เกิดขึ้นในวัยเด็กเท่านั้น แต่ยังไปมีผลถึงกระบวนการต่างๆ ของทั้งสมองและร่างกายเมื่อเด็กคนนั้นเติบโตขึ้นมาอีกด้วย ในบทความอันนี้ ซึ่งเป็นอันสุดท้ายแล้ว เราจะมาคุยกันว่า การฝึกทักษะสมอง EF ส่งผลดีในระยะยาวสำหรับเด็กคนหนึ่งได้อย่างไรบ้าง มาลองติดตามอ่านกันนะครับ การศึกษาผลระยะยาวของทักษะสมอง EF มักจะอ้างอิงจากการทดลองที่มีชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ซึ่งก็คือ การทดสอบมาร์ชเมลโลว์ (Marshmallow...

แนวทางการพัฒนาการกำกับตนเองสู่เป้าหมาย

เป็นปัจจัยสำคัญยิ่งต่อการเติบโตของลูก การพัฒนาทักษะความสามารถในการกำกับตนเองสู่เป้าหมาย (Self-Directed Executive Functions) จะเกิดขึ้นได้จากการที่ผู้ใหญ่เปิดโอกาสให้เด็กเป็นผู้กำหนดการกระทำด้วยตนเอง จะทำอย่างไร เมื่อไร เพื่อให้บรรลุเป้าหมายนั้น อยากให้คุณครูทราบว่า การกำกับตนเองสู่เป้าหมาย (Self-Directed Executive Functions) เป็นปัจจัยสำคัญยิ่งต่อการเติบโตของเด็ก การพัฒนาทักษะความสามารถ EF ด้านนี้ จะเกิดขึ้นได้จากการที่ผู้ใหญ่เปิดโอกาสให้เด็กเป็นผู้กำหนดการกระทำด้วตนเอง ดังแนวทางการพัฒนาการกำกับตัวเองต่อไปนี้ ที่ผู้ใหญ่เป็นผู้วางเป้าหมายไว้ให้ แต่จะปล่อยให้เด็กกำหนดกติกาด้วยตัวเองว่าจะทำอย่างไร เมื่อไร เพื่อให้บรรลุเป้าหมายนั้น เป็นการผลักดันเด็กให้มี...

พ่อแม่และคุณครูคือ “นั่งร้าน” ของเด็ก

ในการพัฒนาเด็ก พ่อแม่และคุณครูจะต้องเป็น "นั่งร้าน" ที่ดีให้เด็ก โดยสร้างกิจวัตรประจำวัน เป็นแบบอย่างพฤติกรรมทางสังคม สร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง บนความสัมพันธ์ที่ไว้วางใจกัน ในการพัฒนาเด็ก สภาพแวดล้อมของเด็กเปรียบเสมือน“นั่งร้าน”ที่จะทำให้อาคารก่อร่างสร้างตัว พ่อแม่ก็คือสิ่งแวดล้อมที่สำคัญของลูก พ่อแม่จะต้องเป็น "นั่งร้าน" ที่ดีให้ก่อน โดย สร้างกิจวัตรประจำวันให้ลูก เป็นแบบอย่างพฤติกรรมทางสังคม สร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง บนความสัมพันธ์ที่ไว้วางใจกัน ครูในศูนย์เด็กเล็กหรือโรงเรียนอนุบาลที่ดูแลเด็กวัย 3-6 ปีก็เปรียบ”นั่งร้าน”ที่มีความสำคัญอย่างมากเป็นผู้ที่จะต้องฝึกฝนคุณลักษณะความสามารถ EF ทั้ง 9 ด้าน ในชีวิตประจำวันของเด็กและในหลักสูตรการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย โดย สร้างกิจวัตรในชีวิตประจำวันที่โรงเรียน ให้รู้จักรอคอย เข้าคิว ให้รู้จักควบคุมอารมณ์ตนเองและแสดงออกอย่างเหมาะสม ฝึกเข้าใจความรู้สึกของตนเอง...

เด็กจะเป็นอย่างไรถ้าขาดทักษะ EF

เด็กที่ขาดทักษะ EF มักมีปัญหาพฤติกรรมและขาดทักษะในการบริหารจัดการชีวิต นักจิตวิทยาพัฒนาการ Prof.Dr.Philip David Zelazo ชี้ไว้ว่า “เด็กที่ขาดทักษะ EF มักมีปัญหาพฤติกรรมด้วย เช่น แม้ว่าเด็กจะมีจุดมุ่งหมาย แต่ถ้าไม่สามารถวางแผน ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรม ไม่สามารถประเมินตัวเองได้ก็อาจจะนำไปสู่การกระทำที่ไม่เหมาะสมได้ และไม่รู้ว่าจะจัดการกับผลที่ตามมาอย่างไร” จากคำอธิบายนี้ ทำให้เรามองเห็นว่า ในการทำให้จุดมุ่งหมายใดๆ สำเร็จได้นั้น ใช่ว่าเพียงมีเป้าหมายตั้งไว้แล้ว ทุกอย่างก็จะเดินหน้าไปได้เอง เพราะในการบวนการทำให้เสร็จบรรลุตามเป้าหมายนั้นต้องใช้ทักษะความสามารถอีกหลายอย่าง เช่น ต้องวางแผนว่า...

Stay Connected

22,878แฟนคลับชอบ
2,506ผู้ติดตามติดตาม
- Advertisement -

Latest Articles

นางกษมน มังคละคีรี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกลางนาเดื่อ จ.สกลนคร

โรงเรียนบ้านกลางนาเดื่อเป็นโรงเรียนในโครงการโรงเรียนพัฒนาตนเอง (TSQP) ผอ.กษมน ได้รับการแนะนำให้รู้จักเรื่องEF จากอาจารย์วิเชียร ไชยบัง โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา แล้วศึกษาเพิ่มเติมทางอินเทอร์เน็ตและเข้าอบรมกับสถาบันRLG เมื่อเดือนเมษายน 2564 โดยให้ครูปฐมวัยในโรงเรียนเข้ารับการอบรมด้วย ซึ่งเป็นครูที่จบเอกปฐมวัยมาโดยตรง และมีความมุ่งมั่นที่จะนำความรู้สู่การปฏิบัติในชั้นเรียน เมื่อตระหนักถึงความสำคัญของ EF ตรงกัน ผอ.กษมนจึงให้ความสนับสนุนอย่างเต็มที่ ให้ครูปฐมวัยได้จัดการเรียนการสอนส่งเสริม EF โดยไม่ได้รอความเห็นชอบจากศน.เขตพื้นที่ฯ เพราะเห็นว่า EF เป็นความรู้ที่สอดคล้องกับหลักการศึกษาปฐมวัยอยู่แล้ว สามารถบูรณาการไปกับการส่งเสริมพัฒนาการ...

นางเปรมศิริ เนื้อเย็น ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองบ้วย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบ้วย  จ.เพชรบุรี

ผอ.เปรมศิริได้รับการแนะนำให้รู้จักเรื่อง EFจากศึกษานิเทศน์เขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรีเขต 2 และ ศน.เชิญชวนให้เข้ารับการอบรมความรู้ EF กับสถาบัน RLG แล้วนำความรู้ EF มาขยายสู่ครูปฐมวัยในโรงเรียนให้ครูได้ส่งเสริมEF เด็กผ่านโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เนื่องจากมีความสอดคล้องกัน โดยบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยส่งเสริมให้เด็กได้คิดวิเคราะห์ เรียนรู้จากการลงมือทำ นอกจากนั้นยังวางแผนจะเชื่อมโยงความรู้ EF ไปสู่ครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบ้วย เพื่อเป็นการปูพื้นฐาน EF ให้เด็กจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่จะมาเรียนต่ออนุบาล 3 ที่โรงเรียนบ้านหนองบ้วย ทำให้เด็กได้รับการพัฒนา...

นายทวิต ราษี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป้อมประชานุกูล จ.สุโขทัย

ผอ.ทวิต ราษี มีประสบการณ์บริหารโรงเรียนขนาดเล็กที่มีระดับชั้นปฐมวัยมานานโดยมีความตั้งใจในการพัฒนาอนุบาลให้มีคุณภาพเพราะเป็นการสร้างรากฐานให้เด็กไปจนโต และมีความสนใจในเรื่องพัฒนาการเด็ก เมื่อเข้าร่วมอบรมเรื่อง EF จากสถาบัน RLG ก็ได้เข้าใจว่าพัฒนาการของเด็กนั้นเกิดจากการทำงานของสมอง และยังเห็นว่าเรื่อง EF มีความสอดคล้องกับโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อยที่โรงเรียนบ้านป้อมประชานุกูลดำเนินการอยู่ จึงสนใจที่จะขับเคลื่อนความรู้ EF ในโรงเรียน(ที่เพิ่งเข้ามาบริหาร) ผอ.ทวิตนำความรู้ EF มาถ่ายทอดแก่ครู ให้ครูนำความรู้ EF บูรณาการกับโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อยซึ่งเป็นการเรียนรู้แบบโครงงาน เพียงครูเปลี่ยนวิธีการ ไม่ใช่ครูสั่งให้เด็กทำ แต่ให้เด็กได้คิดได้ทำด้วยตัวเอง...

นายสวัสดิ์ เมฆสุนทร  ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองโพธิ์ จ.นครราชสีมา 

ผอ.สวัสดิ์ได้รับการแนะนำจากอาจารย์วิเชียร ไชยบัง โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา ให้รู้จัก EF รวมทั้งได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง EF ในการประชุมเครือข่ายโรงเรียนพัฒนาตนเอง(TSQP)อยู่เสมอ และเข้ารับการอบรมกับสถาบัน RLG เพิ่มเติม  แล้วเห็นว่า EF เป็นความรู้พื้นฐานหรือความรู้ปฐมบทที่พ่อแม่ผู้ปกครองไม่ว่าสถานะใดควรต้องรู้ ไม่ใช่เฉพาะผู้ปกครองชนชั้นกลางขึ้นไปที่มีความรู้ หรือเป็นความรู้ในหมู่ครูอาจารย์หรือแพทย์เท่านั้น  ครอบครัวที่ด้อยโอกาสก็ควรต้องรู้ สรุปคือสังคมไทยควรต้องเรียนรู้เรื่อง EF เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันจึงสนับสนุนให้ครูปฐมวัยในโรงเรียนได้รับการอบรม EF จากสถาบัน RLG และดำเนินการปรับสนามเด็กเล่นเพื่อให้เด็กได้เล่นอิสระอย่างปลอดภัยและมีความสุข...

นายจรูญ น้อยสำราญ  ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองบอน จ.ตราด

โรงเรียนบ้านหนองบอนเป็นโรงเรียนหนึ่งในเครือข่ายโรงเรียนพัฒนาตนเอง (TSQD) กสศ.ซึ่งทำให้ผอ.จรูญได้เริ่มรู้จัก EF แล้วทำให้อยากรู้ว่า EF คืออะไร เมื่อพบว่าสถาบัน RLG มีการอบรมเรื่องนี้จึงสมัครเข้ารับอบรมพร้อมครูอนุบาล 2 คน  แล้วได้เห็นว่า EF เป็นคำตอบเรื่องการพัฒนาเด็กให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ และการพัฒนาเด็กให้เต็มศักยภาพ จึงนำความรู้ EF มาถ่ายทอดให้ครูในโรงเรียน โดยใช้สื่อจากสถาบันRLG ให้ครูเรียนรู้ และมอบหมายให้รองผอ.ติดตามการดำเนินการขับเคลื่อนความรู้ EF สู่การปฏิบัติในชั้นเรียนอนุบาล...